วันจันทร์ที่ 13 มิถุนายน พ.ศ. 2559

มิลินทปัญหา ๑๔ ปัญหาเกี่ยวกับลักษณะของสมาธิ

๑๔. สมาธิปญฺโห
๑๔. สมาธิปญฺโห ปัญหาเกี่ยวกับสมาธิ.

๑๔. ราชา อาห ‘‘ภนฺเต นาคเสน,  กึลกฺขโณ สมาธี’’ติ?
๑๔. ราชา พระราชา อาห ตรัสแล้ว อิติ ว่า ภนฺเต นาคเสน พระคุณเจ้านาคเสน, สมาธิ อ.สมาธิ กิํลกฺขณํ  มีอะไรเป็นลักษณะเล่า ?" ดังนี้.

‘‘ปมุขลกฺขโณ, มหาราช, สมาธิ, เย เกจิ กุสลา ธมฺมา, สพฺเพ เต สมาธิปมุขา โหนฺติ สมาธินินฺนา สมาธิโปณา สมาธิปพฺภารา’’ติฯ
เถโร พระเถระ วิสชฺเชสิ วิสัชชนา อิติ ว่า "มหาราช ขอถวายพระพรมหาบพิตร สมาธิ สมาธิ  ปมุขลกฺขโณ มีความเป็นประธานเป็นลักษณะ, ธมฺมา ธรรมท. กุสลา อันเป็นกุศล เยเกจิ อย่างใดอย่างหนึ่ง สนฺติ มีอยู่, ธมฺมา ธรรมท. กุสลา อันเป็นกุศล เต  เหล่านั้น สพฺเพ ทั้งปวง สมาธิปมุขา มีสมาธิเป็นประธาน สมาธินินฺนา เป็นสภาพน้อมไปสู่สมาธิ สมาธิโปณา เป็นสภาพโอนไปสู่สมาธิ สมาธิปพฺภารา เป็นสภาพเงื้อมไปสู่สมาธิ โหนฺติ ย่อมเป็น ดังนี้.

‘‘โอปมฺมํ กโรหี’’ติฯ
ราชา พระราชา อาห ตรัส อิติ ว่า ตฺวํ ท่าน กโรหิ จงกระทำ โอปมฺมํ ซึ่งอุปมา ดังนี้.

‘‘ยถา, มหาราช, กูฏาคารสฺส ยา กาจิ  โคปานสิโย, สพฺพา ตา กูฏงฺคมา โหนฺติ กูฏนินฺนา กูฏสโมสรณา,  กูฏํ ตาสํ  อคฺคมกฺขายติฯ เอวเมว โข, มหาราช, เย เกจิ กุสลา ธมฺมา, สพฺเพ เต สมาธิปมุขา โหนฺติ  สมาธินินฺนา สมาธิโปณา สมาธิปพฺภาราติฯ

เถโร พระเถระ วิสชฺเชสิ  วิสัชชนา อิติ ว่า มหาราช ขอถวายพระพรมหาบพิตร โคปานสิโย กลอนหลังคา[1]ท. กูฏาคารสฺส แห่งเรือนยอด ยากาจิ เหล่าใดเหล่าหนึ่ง สนฺติ มีอยู่, สพฺพา ตา กลอนหลังคาท.เหล่านั้นทั้งปวง กูฏงฺคมา มีเรือนยอดเป็นที่ไป  กูฏนินฺนา เป็นสภาพน้อมไปสู่เรือนยอด, กูฏสโมสรณา เป็นสภาพประชุมกันที่เรือนยอด โหนฺติ ย่อมเป็น กูฏํ เรือนยอด อกฺขายติ อันบัณฑิตย่อมเรียก อคฺคํ ว่าเป็นยอด ตาสํ โคปานสีนํ แห่งกลอนหลังคาท.เหล่านั้น ยถา ฉันใด, มหาราช ขอถวายพระพรมหาบพิตร สมาธิ สมาธิ  ปมุขลกฺขโณ มีความเป็นประธานเป็นลักษณะ, ธมฺมา ธรรมท.  กุสลา อันเป็นกุศล เยเกจิ อย่างใดอย่างหนึ่ง สนฺติ มีอยู่, ธมฺมา  ธรรมท. กุสลา อันเป็นกุศล เต เหล่านั้น สพฺเพ ทั้งปวง  สมาธิปมุขา มีสมาธิเป็นประธาน สมาธินินฺนา เป็นสภาพน้อมไปสู่สมาธิ สมาธิโปณา เป็นสภาพโอนไปสู่สมาธิ สมาธิปพฺภารา เป็นสภาพเงื้อมไปสู่สมาธิ โหนฺติ ย่อมเป็น เอวํ ฉันนั้น เอว นั่นเทียว โข แล" ดังนี้[2]

‘‘ภิยฺโย โอปมฺมํ กโรหี’’ติฯ
ราชา อ.พระราชา อาห ตรัสแล้ว อิติ ว่า ตฺวํ อ.ท่าน กโรหิ จงกระทำ โอปมฺมํ ซึ่งการอุปมา ภิยฺโย โดยยิ่ง” ดังนี้.

‘‘ยถา, มหาราช, โกจิ ราชา จตุรงฺคินิยา เสนาย สทฺธึ สงฺคามํ โอตเรยฺย, สพฺพาว เสนา หตฺถี จ อสฺสา จ รถา จ ปตฺตี จ ตปฺปมุขา ภเวยฺยุํ ตนฺนินฺนา ตปฺโปณา ตปฺปพฺภารา ตํ เยว อนุปริยาเยยฺยุํฯ เอวเมว โข, มหาราช, เย เกจิ กุสลา ธมฺมา, สพฺเพ เต สมาธิปมุขา โหนฺติสมาธินินฺนา สมาธิโปณา สมาธิปพฺภาราฯ
เถโร พระเถระ อาห  กราบทูล อิติ ว่า มหาราช ขอถวายพระพรมหาบพิตร ราชา พระราชา โกจิ บางพระองค์ โอตเรยฺย พึงหยั่งลง สงฺคามํ สู่สงคราม สทฺธึ พร้อม เสนาย ด้วยกองทัพ จตุรงฺคินียา อันประกอบด้วยองค์ ๔, เสนา กองทัพท.   สพฺพาว ทั้งปวงเทียว หตฺถี จ ช้างท. ด้วย, อสฺสา จ ม้าท. ด้วย, รถา จ รถท. ด้วย ปตฺตี จ พลเดินเท้าท. ด้วย, ตปฺปมุขา มีพระราชานั้นเป็นประมุข ตนฺนินฺนา เป็นธรรมชาติที่น้อมไปสู่พระราชานั้น, ตปฺโปณา เป็นธรรมชาติที่โอนไปสู่พระราชานั้น, ตปฺปพฺภารา เป็นธรรมชาติเงื้อมไปสู่พระราชานั้น โหนฺติ ย่อมเป็น,  อนุปริยาเยยฺยุํ พึงคล้อยตาม ตํ ราชานํ ซึ่งพระราชานั้น เอว นั่นเทียว ยถา ฉันใด, มหาราช ขอถวายพระพรมหาบพิตร ธมฺมา อ.ธรรมท. กุสลา อันเป็นกุศล เยเกจิ อย่างใดอย่างหนึ่ง สนฺติ มีอยู่, ธมฺมา ธรรมท. กุสลา อันเป็นกุศล เต เหล่านั้น สพฺเพ ทั้งปวง สมาธิปมุขา มีสมาธิเป็นประธาน สมาธินินฺนา เป็นสภาพน้อมไปสู่สมาธิ สมาธิโปณา เป็นสภาพโอนไปสู่สมาธิ สมาธิปพฺภารา เป็นสภาพเงื้อมไปสู่สมาธิ โหนฺติ ย่อมเป็น เอวํ เอว โข ฉันนั้นนั่นเทียว แล.

เอวํ โข, มหาราช, ปมุขลกฺขโณ สมาธิฯ
มหาราช ขอถวายพระพรมหาบพิตร สมาธิ สมาธิ ปมุขลกฺขโณ มีความเป็นประธานเป็นลักษณะ เอวํ โข ฉะนี้แล.[3]

ภาสิตมฺเปตํ, มหาราช, ภควตา – ‘‘สมาธึ, ภิกฺขเว, ภาเวถ, สมาหิโต,  ภิกฺขเว, ภิกฺขุ ยถาภูตํ ปชานาตี’’ติฯ
มหาราช ขอถวายพระพรมหาบพิตร  เอตํ วจนํ ปิ แม้ อ.พระดำรัสนี้ ภควตา อันพระผู้มีพระภาค ภาสิตํ  ตรัสแล้ว   อิติ ว่า ภิกฺขเว ดูก่อนภิกษุท.ตุมฺเห อ.เธอท. สมาธึ ยังสมาธิ ภาเวถ จงให้บังเกิด, ภิกฺขเว ดูก่อนภิกษุท. ภิกฺขุ ภิกษุ สมาหิโต ตั้งมั่นแล้ว ปชานาติ ย่อมรู้เห็น ยถาภูตํ ตามเป็นจริง"[4] ดังนี้ ดังนี้.

‘‘กลฺโลสิ, ภนฺเต นาคเสนา’’ติฯ
ราชา พระราชา อโวจ ได้ตรัสแล้ว  อิติ ว่า ภนฺเต นาคเสน พระคุณเจ้านาคเสน   ตฺวํ ท่าน อสิ ย่อมเป็น กลฺโล ผู้สามารถแก้ปัญหา ดังนี้.

สมาธิปญฺโห จุทฺทสโมฯ
สมาธิปญฺโห
อ.ปัญหาเกี่ยวกับสมาธิ
จุทฺทสโม ที่สิบสี่ นิฏฺฐิโต จบแล้ว.



[1]  อรรถกถาอธิบายว่า เคหสฺส ผาสุกาโย ซี่โครงของเรือน ซึ่งได้แก่ จันทัน ซึ่งเป็นไม้วางทอดยาวในแนวดิ่งจากโครงหลังคาอันเป็นยอดเรือน(อกไก่).
[2] ประโยคนี้เทียบให้เห็นว่า กุศลธรรมทั้งหลายมีศรัทธาเป็นต้นเหล่านั้นดังที่กล่าวมา ล้วนมีสมาธิเป็นหัวหน้า ถึงความเป็นไปร่วมกันในอารมณ์เดียวด้วยอำนาจสมาธิ มุ่งไปสมทบกับสมาธิเพื่อทำกิจของตนๆ ในอารมณ์เดียวที่สมาธิตั้งอยู่นั้น ดังนั้น สมาธิ จึงเป็นศูนย์รวมของธรรมเหล่านั้นในการทำกิจของตนแห่งธรรมนั้นๆจิต แล้วทำวิปัสสนากรรมฐานให้ก้าวหน้าต่อไปจนบรรลุคุณวิเศษ เฉกเช่นเดียวกับไม้จันทันแม้มีหลายท่อน ต่างก็มุ่งไปที่ยอดเรือนอย่างเดียวเพื่อประกอบให้มั่นทั้งนั้น ดังนั้น ยอดเรือนจึงเป็นประธาน เป็นศูนย์รวมของไม้จันทันเหล่านั้น.
[3] แม้ประโยคนี้ ชี้ให้เห็นว่า พวกเสนาต่างๆ ย่อมมีพระราชาเป็นจอมทัพ เป็นศูนย์รวมเพื่อขับเคลื่อนไปสู่สมรภูมิ. ถึง กุศลธรรมเหล่านั้นก็มีศูนย์รวมที่สมาธิ มีสมาธิเป็นหัวหน้าขับเคลื่อนไปเพื่อเจริญวิปัสสนา ทำอริยสัจให้แจ้งต่อไป.
[4] พระผู้มีพระภาคทรงเห็นภิกษุผู้เสื่อมจากสมาธิ จึงทรงทราบว่า ครั้นภิกษุเหล่านี้ได้สมาธิ วิปัสสนากัมมัฏฐานที่มีสมาธิเป็นบาท จักถึงความสำเร็จ คือ บรรลุคุณวิเศษมีโสตาปัตติมรรคเป็นต้น จึงตรัสพระบาฬีนี้. ประกอบความว่า พวกเธอจงเจริญสมาธิ ภิกษุผู้มีจิตตั้งมั่นด้วยอัปปนาสมาธิหรืออุปจารสมาธิ ย่อมรู้อริยสัจจ์ตามที่เป็นจริงว่า นี้ทุกข์เป็นต้น เพราะฉะนั้น ภิกษุผู้มีจิตมั่นคงดีแล้วด้วยสมาธิ ควรทำความเพียรเพื่อให้รู้ว่านี้ ทุกข์, นี้เหตุให้เกิดทุกข์ เป็นต้น. (สํ.สคาถ ๕, มหา. ๑๐๗๑ เป็นต้นและอรรถกถาฏีกาของสูตรนั้น).

ไม่มีความคิดเห็น:

แสดงความคิดเห็น