วันศุกร์ที่ 3 มิถุนายน พ.ศ. 2559

๑๒) พระมหาชนกย้ำว่า ความบากบั่น คือ ปฏิปทาของพระองค์

อถ นํ เทวธีตา คาถมาห
อถ ต่อมา เทวธีตา เทพธิดา อาห จึงกล่าว คาถํ คาถา นํ กับพระมหาสัตว์ อิติ ดังนี้ว่า

๑๒๗.
‘‘อปารเนยฺยํ ยํ กมฺมํ,          อผลํ กิลมถุทฺทยํ;
 ตตฺถ โก วายาเมนตฺโถ,      มจฺจุ ยสฺสาภินิปฺปต’’นฺติฯ
 
ยํ กมฺมํ การงานใด อปารเนยฺยํ ที่ไม่พึงให้ถึงที่สุดด้วยความเพียร อผลํ ไม่มีผล กิลมถุทฺทยํ ก่อให้เกิดความยากลำบาก, มจฺจุ ความตาย อภินิปฺปตํ เป็นผลอันสำเร็จแล้ว ยสฺส (วายามกรณสฺส) แห่งการทำความเพียร อันใด, โก อตฺโถ จะมีประโยชน์อะไรเล่า วายาเมน ด้วยการทำความเพียรนั้น ตตฺถ ในการงานนั้น.

ตตฺถ อปารเนยฺยนฺติ วายาเมน มตฺถกํ อปาเปตพฺพํฯ มจฺจุ ยสฺสาภินิปฺปตนฺติ ยสฺส อฏฺฐาเน วายามกรณสฺส มรณเมว นิปฺผนฺนํ, ตตฺถ โก วายาเมนตฺโถติฯ
ตตฺถ ในคาถานั้น อปารเนยฺยํ อิติ ปทสฺส อตฺโถ ความหมายของบทว่า อปารเนยฺยํ อิติ มีดังนี้, ยํ กมฺมํ การงานใด อปาเปตพฺพํ ไม่พึงถึง มตฺถกํ ที่หมาย วายาเมน ดวยความเพียร.
มจฺจุ ยสฺสาภินิปฺปตํ อิติ คาถาปาทสฺส อตฺโถ ความหมายของบาทคาถานี้ว่า มจฺจุ ยสฺสาภินิปฺปตํ อิติ มีดังนี้,  มรณํ เอว ความตายเท่านั้น นิปฺผนฺนํ เป็นผลสำเร็จแล้ว วายามกรณสฺส แห่งการทำความเพียร ยสฺส อันใด อฏฺฐาเน ในฐานะอันไม่สมควร, โก อตฺโถ ประโยชน์อะไร เตน วายาเมน ด้วยความเพียรนั้น ตตฺถ ในการงานนั้น.
เอวํ เทวธีตาย วุตฺเต ตํ อปฺปฏิภานํ กโรนฺโต มหาสตฺโต อุตฺตริ คาถา อาห
วจเน เมื่อคำพูด เทวธีตาย ที่เทพธิดา วุตฺเต ได้กล่าวแล้ว เอวํ ดังนั้น, มหาสตฺโต พระมหาสัตว์ กโรนฺโต เมื่อจะทำ ตํ เทพธิดา อปฺปฏิภานํ ให้สิ้นคำโต้แย้ง อาห จึงตรัส คาถา อีกหลายคาถา อุตฺตริ ต่อไปอีก อิติ ดังนี้ว่า

๑๒๘.
‘‘อปารเนยฺยมจฺจนฺตํ, โย วิทิตฺวาน เทวเต;
น รกฺเข อตฺตโน ปาณํ, ชญฺญา โส ยทิ หาปเยฯ
เทวเต ท่านเทพธิดา โย ใคร วิทิตฺวาน ครั้นรู้ว่า “อิทํ กมฺมํ การงานนี้ อปารเนยฺยํ ไม่พึงถึงที่หมาย อจฺจนฺตํ อย่างแน่นอน” น รกฺเข ชื่อว่า ไม่พึงรักษา ปาณํ ซึ่งชีวิต อตฺตโน ของตน, ยทิ หาก โส เขา วีริยํ ยังวิริยะ หาปเย พึงให้หมดไป (เลิกล้มความเพียร), โส เขา ชญฺญา พึงรู้ กุสีตผลํ ซึ่งผลแห่งความเกียจคร้าน.
[ตตฺถ
ตตฺถ ในคาถานั้น[1]

อจฺจนฺตนฺติ โย ‘‘อิทํ กมฺมํ วีริยํ กตฺวา นิปฺผาเทตุํ น สกฺกา, อจฺจนฺตเมว อปารเนยฺย’’นฺติ วิทิตฺวา จณฺฑหตฺถิอาทโย อปริหรนฺโต อตฺตโน ปาณํ น รกฺขติฯ
อจฺจนฺตํ อิติ ปทสฺส อตฺโถ ความหมายของบทว่า อจฺจนฺตํ อิติ มีดังนี้, โย ผู้ใด วิทิตฺวา รู้ชัด ว่า อิทํ กมฺมํ การงานนี้ (มยา) เรา กตฺวา ครั้นทำ วีริยํ ความเพียร น สกฺกา ยังไม่สามารถ นิปฺผาเทตุํ ให้สำเร็จ อปารเนยฺยํ ให้ถึงที่สุดไม่ได้ด้วยความพยายาม อจฺจนฺตํ เอว อย่างแน่นอนจริงๆ อิติ ดังนี้แล้ว อปริหรนฺโต ยังไม่หลีกเลี่ยง จณฺฑหตฺถิอาทโย อนฺตราเย อันตรายต่างๆมีช้างดุร้ายเป็นต้น น รกฺขติ ชื่อว่า ไม่รักษา ปาณํ ซึ่งชีวิต อตฺตโน ของตน.

ชญฺญา โส ยทิ หาปเยติ โส ยทิ ตาทิเสสุ ฐาเนสุ วีริยํ หาเปยฺย, ชาเนยฺย ตสฺส กุสีตภาวสฺส ผลํฯ ตฺวํ ยํ วา ตํ วา นิรตฺถกํ วทสีติ ทีเปติฯ ปาฬิยํ ปน ‘‘ชญฺญา โส ยทิ หาปย’’นฺติ ลิขิตํ, ตํ อฏฺฐกถาสุ นตฺถิฯ]
ชญฺญา โส ยทิ หาปเย อิติ คาถาปาทสฺส อตฺโถ ความหมายของบาทคาถาว่า ชญฺญา โส ยทิ หาปเย อิติ มีดังนี้, ยทิ ถ้า โส เขา วีริยํ ทำความเพียร ฐาเนสุ ในฐานะ ตาทิเสสุ เห็นปานฉะนี้ หาเปยฺย พึงให้หมดสิ้นไป, ชาเนยฺย จะพึงรู้สึก ผลํ ซึ่งผล กุสีตภาวสฺส ของความเกียจคร้าน ตสฺส ของเขา.  มหาสตฺโต พระมหาสัตว์ ทีเปติ ย่อมแสดง อิติ ว่า ตฺวํ ท่าน วทสิ กล่าว วจนํ คำพูด ยํ วา ตํ วา พล่อยๆ นิรตฺถกํ ไร้ประโยชน์. (ยํ วา ตํ วา เป็นสำนวนพูดที่หมายถึง เบ็ดเตล็ด ไม่เจาะจงจะเป็นอะไรก็ได้ ถ้าเป็นคำพูดหมายถึง เป็นคำพูดเรื่อยเปื่อย ตามความคุ้นปาก พล่อยๆ  เลื่อนลอย ไร้เหตุผล). ปน แต่ ปาฬิยํ ในพระบาฬี ลิขิตํ ได้จารไว้ อิติ ว่า ชญฺญา โส ยทิ หาปยํ (ควรแปลว่า หากเขาพึงทำความเพียรให้หมดไป  ต่างกันเพียงหาปเย กับ หาปยํ) ตํ (หาปยํ อิติ ปทํ) บทว่า หาปยํ นตฺถิ ไม่มี อฏฺฐกถาสุ ในอรรถกถา (เดิม)

๑๒๙.
‘‘อธิปฺปายผลํ เอเก,            อสฺมิํ โลกสฺมิ เทวเต;
 ปโยชยนฺติ กมฺมานิ,           ตานิ อิชฺฌนฺติ วา น วาฯ
เอเก บุรุษบางคน อสฺมิํ โลกสฺมิ ในโลกนี้ (สมฺปสฺสมานา) เล็งเห็น อธิปฺปายผลํ ผลที่ประสงค์, ปโยชยนฺติ จึงทำ ยานิ กมฺมานิ การงาน เหล่าใด, ตานิ การงานเหล่านั้น อิชฺฌนฺติจะสำเร็จ วา หรือ น อิชฺฌนฺติ วา หรือว่าจะไม่สำเร็จกัน เทวเต ท่านเทพธิดา.

อธิปฺปายผลนฺติ อตฺตโน อธิปฺปายผลํ สมฺปสฺสมานา เอกจฺเจ ปุริสา กสิวณิชฺชาทีนิ กมฺมานิ ปโยชยนฺติ, ตานิ อิชฺฌนฺติ วา น วา อิชฺฌนฺติฯ ‘‘เอตฺถ คมิสฺสามิ, อิทํ อุคฺคเหสฺสามี’’ติ ปน กายิกเจตสิกวีริยํ กโรนฺตสฺส ตํ อิชฺฌเตว, ตสฺมา ตํ กาตุํ วฏฺฏติเยวาติ ทสฺเสติฯ
อธิปฺปายผลํ อิติ ปทสฺส อตฺโถ ความหมายของบทว่า อธิปฺปายผลํ อิติ มีดังนี้, ปุริสา บุรุษ เอกจฺเจ บางพวก สมฺปสฺสมานา เมื่อเล็งเห็น อธิปฺปายผลํ ผลที่ประสงค์ อตฺตโน ของตน ปโยชยนฺติ ย่อมประกอบ กมฺมานิ การงาน กสิวณิชฺชาทีนิ มีเพาะปลูกและค้าขายเป็นต้น, ตานิ การงานเหล่านั้น อิชฺฌนฺติ จะสำเร็จ วา หรือ น อิชฺฌนฺติ วา หรือว่า จะไม่สำเร็จ. มหาสตฺโต พระมหาสัตว์ ทสฺเสติ ย่อมแสดงว่า ปน ก็ กโรนฺตสฺส เมื่อเขาทำ กายิกเจตสิกวีริยํ ความเพียรทางกายและใจ จินฺตเนน ด้วยคิดว่า คมิสฺสามิ เราจักไป เอตฺถ ในที่นี้, อุคฺคเหสฺสามิ จักเรียนเอา อิทํ ซึ่งการงานนี้ ดังนี้, ตํ การงานนั้น อิชฺฌเตว ย่อมสำเร็จแท้, ตสฺมา ฉะนั้น กาตุํ การทำ ตํ ซึ่งการงานนั้น วฏฺฏติ เอว สมควรแท้ อิติ ดังนี้.

๑๓๐.
‘‘สนฺทิฏฺฐิกํ กมฺมผลํ,          นนุ ปสฺสสิ เทวเต;
 สนฺนา อญฺเญ ตรามหํ,      ตญฺจ ปสฺสามิ สนฺติเกฯ
เทวเต ท่านเทพธิดา ตฺวํ ท่าน ปสฺสสิ เห็น กมฺมผลํ ผลงาน สนฺทิฏฺฐิกํ ประจักษ์แก่ตน นนุ มิใช่หรือ? อญฺเญ คนอื่น สนฺนา จมน้ำ, (ปน) ส่วน อหํ  เรา ตรามิ ยังว่ายอยู่, ปสฺสามิ และยังเห็น ตํ เทพยดา (หรือ ตํ ท่าน) สนฺติเก อยู่ใกล้เรา อีกด้วย.

สนฺนา อญฺเญ ตรามหนฺติ อญฺเญ ชนา มหาสมุทฺเท สนฺนา นิมุคฺคา วีริยํ อกโรนฺตา มจฺฉกจฺฉปภกฺขา ชาตา, อหํ ปน เอกโกว ตรามิฯ ตญฺจ ปสฺสามิ สนฺติเกติ อิทํ เม วีริยผลํ ปสฺส, มยา อิมินา อตฺตภาเวน เทวตา นาม น ทิฏฺฐปุพฺพา, โสหํ ตญฺจ อิมินา ทิพฺพรูเปน มม สนฺติเก ฐิตํ ปสฺสามิฯ
สนฺนา อญฺเญ ตรามหํ อิติ คาถาปาทสฺส อตฺโถ ความหมายของบาทคาถาว่า สนฺนา อญฺเญ ตรามหํ อิติ มีดังนี้, ชนา ชน อญฺเญ พวกอื่น สนฺนา จม นิมุคฺคา ดิ่งลง มหาสมุทฺเท ในมหาสมุทร อกโรนฺตา เพราะไม่ทำ วีริยํ ความเพียง มจฺฉกจฺฉปภกฺขา เป็นภักษาของปลาและเต่า ชาตา เกิดแล้ว, ปน แต่ อหํ เรา เอกโก ว คนเดียวเท่านั้น ตรามิ ยังว่ายอยู่.
ตญฺจ ปสฺสามิ สนฺติเก อิติ คาถาปาทสฺส อตฺโถ ความหมายของบาทคาถาว่า ตญฺจ ปสฺสามิ สนฺติเก อิติ มีดังนี้, ตฺวํ ท่าน ปสฺส จงดู วีริยผลํ ผลของความเพียร อิทํ นี้ เม ของเรา, เทวตา นาม ธรรมดาว่า เทวดา มยา อันเรา น ทิฏฺฐปุพฺพา ไม่เคยเห็นแล้ว อตฺตภาเวน โดยอัตภาพ อิมินา นี้, โส อหํ เรา ปสฺสามิ เห็น ตํ ท่าน (หรือ เทวดานั้น) ทิพฺพรูเปน ด้วยทั้งรูปอันเป็นทิพย์ อิมินา นี้ ฐิตํ มาสถิต สนฺติเก อยู่ใกล้ มม ของเรา นี้.

๑๓๑.
‘‘โส อหํ วายมิสฺสามิ,           ยถาสตฺติ ยถาพลํ;
  คจฺฉํ ปารํ สมุทฺทสฺส,        กสฺสํ ปุริสการิย’’นฺติฯ
โส อหํ เรา วายมิสฺสามิ จักพากเพียร ยถาสตฺติ ตามควรแก่ความสามารถ ยถาพลํ ตามควรแก่กำลัง, กสฺสํ จักทำ ปุริสการิยํ ความเพียรที่ควรทำของบุรุษ คจฺฉํ กระทั่งถึง ปารํ ฝั่ง สมุทฺทสฺส มหาสมุทร

ยถาสตฺติ ยถาพลนฺติ อตฺตโน สตฺติยา จ พลสฺส จ อนุรูปํฯ กสฺสนฺติ กริสฺสามิฯ
ยถาสตฺติ ยถาพลํ อิติ คาถาปาทสฺส อตฺโถ ความหมาย ของบาทคาถาว่า ยถาสตฺติ ยถาพลํ อิติ มีดังนี้, (วายมิสฺสามิ จักพากเพียร) อนุรูปํ อันสมควร สตฺติยา จ ต่อความสามารถ พลสฺส จ ต่อกำลัง อตฺตโน ของตน.
กสฺสํ อิติ ปทํ บทว่า กสฺส อิติ คือ  กริสฺสามิ จักกระทำ

ตโต เทวตา ตสฺส ตํ ทฬฺหวจนํ สุตฺวา ถุติํ กโรนฺตี คาถมาห
ตโต จากนั้น เทวตา เทพธิดา สุตฺวา ได้สดับ ทฬฺหวจน คำยืนยัน ตํ นั้น ตสฺส ของพระมหาสัตว์ กโรนฺตี เมื่อทำ ถุติํ การสรรเสริญ อาห จึงได้กล่าว คาถํ คาถา ว่า

๑๓๒.
‘‘โย ตฺวํ เอวํ คเต โอเฆ,       อปฺปเมยฺเย มหณฺณเว;
  ธมฺมวายามสมฺปนฺโน,        กมฺมุนา นาวสีทสิ;
  โส ตฺวํ ตตฺเถว คจฺฉาหิ,     ยตฺถ เต นิรโต มโน’’ติฯ
โย ตฺวํ ท่าน ธมฺมวายามสมฺปนฺโน เพียบพร้อมด้วยความเพียรที่ประกอบด้วยธรรม โอเฆ ในมหาสมุทร (คมฺภีเร วิตฺถเต จ) ทั้งลึกและกว้างใหญ่ มหณฺณเว ในห้วงมหรรณพ อปฺปเมยฺเย สุดหยั่งถึง เอวํคเต เห็นปานฉะนี้ น อวสีทสิ ไม่ยอมจม กมฺมุนา ด้วยการกระทำอย่างลูกผู้ชาย. มโน ใจ เต ของท่าน นิรโต ยินดี ยตฺถ ในที่ใด, โส ตฺวํ ท่าน คจฺฉาหิ จงไป ตตฺถ เอว ในที่นั้นนั่นเทียว อิติ ดังนี้.

ตตฺถ เอวํ คเตติ เอวรูเป คมฺภีเร วิตฺถเต มหาสมุทฺเทฯ ธมฺมวายามสมฺปนฺโนติ ธมฺมวายาเมน สมนฺนาคโตฯ กมฺมุนาติ อตฺตโน ปุริสการกมฺเมนฯ นาวสีทสีติ น อวสีทสิฯ ยตฺถ เตติ ยสฺมิํ ฐาเน ตว มโน นิรโต, ตตฺเถว คจฺฉาหีติฯ
ตตฺถ ในคาถานั้น
เอวํ คเต อิติ ปททฺวยสฺส อตฺโถ ความหมาย ของสองบทว่า เอวํ คเต อิติ มีดังนี้, มหาสมุทฺเท ในมหาสมุทร คมฺภีเร ที่ลึก วิตฺถเต ที่กว้างใหญ่ เอวรูเป เห็นปานนี้.
ธมฺมวายามสมฺปนฺโน อิติ ปทสฺส อตฺโถ ความหมาย แห่งบทว่า ธมฺมวายามสมฺปนฺโน อิติ มีดังนี้, สมนฺนาคโต ท่านเป็นผู้ประกอบแล้ว ธมฺมวายาเมน ด้วยความเพียรที่ประกอบด้วยธรรม ดังนี้.
กมฺมุนา อิติ ปทสฺส อตฺโถ ความหมายของบทว่า กมฺมุนา อิติ มีดังนี้, ปุริสการกมฺเมน ด้วยความพยายามอย่างลูกผู้ชาย อตฺตโน ของตน.
ปทจฺเฉโท การตัดบทว่า  น อวสีทสิ ย่อมไม่จมลง อิติ ดังนี้ นาวสีทสิ อิติ ปทสฺส แห่งบทว่า นาวสีทสิ.
ยตฺถ เต อิติ ปททฺวยสฺส อตฺโถ ความหมายของสองบทว่า ยตฺถ เต อิติ มีดังนี้, มโน ใจ ตว ของท่าน นิรโต ยินดีแล้ว ยสฺมิํ ฐาเน ในที่ใด, ตฺวํ ท่าน คจฺฉาหิ จงไป ตตฺถ ในที่นั้น เอว นั่นเทียว.




[1] พึงทราบว่า อรรถกถาท่านอธิบายเนื้อความคาถานี้ไว้ถึง ๔ คาถาพร้อมกัน เหตุที่เป็นบทสนทนาฝ่ายพระมหาชนก. ในที่นี้จัดแยกไว้ทีละคาถาเพื่อสะดวกต่อการอ่าน.

ไม่มีความคิดเห็น:

แสดงความคิดเห็น