วันพุธที่ 25 พฤษภาคม พ.ศ. 2559

มหาชนกชาดกอรรถกถา แปลยกศัพท์

[๕๓๙] ๒. มหาชนกชาตกวณฺณนา
มหาชนกชาตกวณฺณนา อรรถกถามหาชนกชาดก มยา อันข้าพเจ้า วุจฺจเต จะกล่าว

โกยํ มชฺเฌ สมุทฺทสฺมินฺติ อิทํ สตฺถา เชตวเน วิหรนฺโต มหาภินิกฺขมนํ อารพฺภ กเถสิฯ เอกทิวสญฺหิ ภิกฺขู ธมฺมสภายํ สนฺนิสินฺนา ตถาคตสฺส มหาภินิกฺขมนํ วณฺณยนฺตา นิสีทิํสุฯ  สตฺถา อาคนฺตฺวา ‘‘กาย นุตฺถ, ภิกฺขเว, เอตรหิ กถาย สนฺนิสินฺนา’’ติ ปุจฺฉิตฺวา ‘‘อิมาย นามา’’ติ วุตฺเต ‘‘, ภิกฺขเว, อิทาเนว, ปุพฺเพปิ ตถาคโต มหาภินิกฺขมนํ นิกฺขนฺโตเยวา’’ติ วตฺวา เตหิ  ยาจิโต อตีตํ อาหริฯ
สตฺถา พระศาสดา วิหรนฺโต เมื่อประทับอยู่ เชตวเน ในพระเชตวัน อารพฺภ ทรงปรารภ มหาภินิกฺขมนํ มหาภิเนษกรมณ์[1] กเถสิ ตรัส อิทํ ชาตกํ พระชาดก นี้  อิติ = อาทิ เป็นต้น ว่า โกยํ มชฺเฌ สมุทฺทสฺสมึ ดังนี้. หิ มีรายละเอียด ดังต่อไปนี้, เอกทิวสํ วันหนึ่ง ภิกฺขู ภิกษุท. สนฺนิสินฺนา นั่งประชุม ธมฺมสภายํ ในธรรมสภา[2]  วณฺณยนฺตา นิสีทึสุ นั่งสรรเสริญ มหาภินิกฺขมนํ มหาภิเนษกรมณ์ ตถาคตสฺส ของพระตถาคต. สตฺถา พระศาสดา อาคนฺตฺวา เสด็จมาแล้ว ปุจฺฉิตฺวา ตรัสถาม อิติ ว่า ภิกฺขเว ภิกษุท. เอตรหิ บัดนี้ ตุมฺเห พวกเธอ  สนฺนิสินฺนา อตฺถ เป็นผู้นั่งสนทนากัน กถาย ด้วยเรื่อง กาย นุ อะไรกันอยู่หรือ?” ภิกฺขูหิ วุตฺเต เมื่อภิกษุท. กราบทูล อิติ ว่า ภนฺเต ข้าแต่พระองค์ผู้เจริญ มยํ พวกข้าพระองค์ สนฺนิสินฺนา อมฺห เป็นผู้นั่งสนทนากัน อิมาย กถาย ด้วยเรื่องนี้” วตฺวา ตรัสแล้ว อิติ ว่า ภิกฺขเว ภิกษุท. ตถาคโต พระตถาคต มหาภินิกฺขมนํ นิกฺขนฺโต ออกมหาภิเนษกรมณ์ อิทาเนว ในเวลานี้เท่านั้น ก็หามิได้,   ปุพฺเพปิ แม้ในกาลก่อน ตถาคโต พระตถาคต มหาภินิกฺขมนํ นิกฺขนฺโต     ออกมหาภิเนษกรมณ์ เอว เหมือนกัน” ดังนี้แล้ว เตหิ ยาจิโต ครั้นภิกษุเหล่านั้นทูลอ้อนวอนแล้ว อาหริ จึงทรงนำ อตีตํ เรื่องอดีต (มาตรัสเล่า).

อตีเต วิเทหรฏฺเฐ มิถิลายํ มหาชนโก นาม ราชา รชฺชํ กาเรสิฯ ตสฺส เทฺว ปุตฺตา อเหสุํ อริฏฺฐชนโก จ โปลชนโก จาติฯ เตสุ ราชา เชฏฺฐปุตฺตสฺส อุปรชฺชํ อทาสิ, กนิฏฺฐสฺส  เสนาปติฏฺฐานํ อทาสิฯ อปรภาเค มหาชนโก กาลมกาสิฯ ตสฺส สรีรกิจฺจํ กตฺวา รญฺโญ อจฺจเยน อริฏฺฐชนโก ราชา หุตฺวา อิตรสฺส อุปรชฺชํ อทาสิฯ ตสฺเสโก ปาทมูลิโก อมจฺโจ รญฺโญ สนฺติกํ คนฺตฺวา ‘‘เทว, อุปราชา ตุมฺเห ฆาเตตุกาโม’’ติ อาหฯ ราชา ตสฺส ปุนปฺปุนํ กถํ สุตฺวา กนิฏฺฐสฺส สิเนหํ ภินฺทิตฺวา โปลชนกํ สงฺขลิกาหิ พนฺธาเปตฺวา ราชนิเวสนโต อวิทูเร เอกสฺมิํ    เคเห  วสาเปตฺวา อารกฺขํ ฐเปสิฯ
อตีเต ในอดีตกาล มหาชนโก นาม ราชา พระราชาทรงพระนามว่า มหาชนก รชฺชํ กาเรสิ ทรงครองรัชสมบัติ มิถิลายํ ในเมืองมิถิลา วิเทหรฏฺเฐ ในแคว้นวิเทหรัฐ.  ปุตฺตา พระโอรส ตสฺส ของพระราชามหาชนกนั้น เทฺว สองพระองค์ อิติ คือ อริฏฺฐชนโก จ พระโอรสอริฏฐกชนก โปลชนโก จ และพระโอรสโปลชนก อเหสุ ได้มีแล้ว. เตสุ บรรดาพระโอรสสองพระองค์นั้น ราชา พระราชา อทาสิ พระราชทานแล้ว อุปรชฺชํ ซึ่งตำแหน่งแห่งอุปราช เชฏฺฐ-ปุตฺตสฺส แก่พระโอรสองค์โต, อทาสิ พระราชทานแล้ว เสนาปติฏฺฐานํ ซึ่งตำแหน่งเสนาบดี  กนิฏฐสฺส แก่พระโอรสองค์น้อง. อปรภาเค ในกาลต่อมา มหาชนโก พระราชามหาชนก กาลํ อกาสิ เสด็จสวรรคต. อริฏฺฐชนโก พระโอรสอริฏฐชนก กตฺวา กระทำแล้ว สรีรกิจฺจํ ถวายเพลิงพระบรมศพ ตสฺส แก่พระราชามหาชนก ราชา หุตฺวา เป็นพระราชา อจฺจเยน โดยการล่วงไป รญฺโญ แห่งพระราชา  อทาสิ ได้พระราชทาน อุปรชฺชํ ซึ่งตำแหน่งแห่งอุปราช อิตรสฺส แก่พระโปลชนกกนิฏฐภาดานอกนี้.  อมจฺโจ อำมาตย์    ปาทมูลิโก ผู้ใกล้ชิด เอโก คนหนึ่ง ตสฺส ของพระราชาอริฏฐชนก  คนฺตฺวา เข้าไปแล้ว สนฺติกํ ถึงที่ประทับ รญฺโญ  ของพระราชา อาห กราบทูลแล้ว อิติ ว่า เทว   ข้าแต่พระสมมุติเทพ อุปราชา พระอุปราช ฆาเตตุกาโม ประสงค์จะปลงพระชนม์   ตุมฺเห พระองค์” ดังนี้. ราชา พระราชา สุตฺวา ทรงสดับแล้ว กถํ คำกราบทูล ตสฺส    ของอำมาตย์นั้น ปุนปฺปุนํ บ่อยๆ ภินฺทิตฺวา ทำลายแล้ว สิเนหํ ความรัก กนิฏฐสฺส   แห่งพระกนิฏฐภาดา พนฺธาเปตฺวา รับสั่งให้ล่าม โปลชนกํ  ซึ่งพระโปลชนก สงฺขลิกาหิ ด้วยโซ่ วสาเปตฺวา ให้อยู่แล้ว เคเห ในคฤหาสน์ เอกสฺมึ หลังหนึ่ง อวิทูเร    ในที่ไม่ไกล ฐเปสิ ตั้งไว้แล้ว อารกฺขํ ซึ่งการรักษา.


กุมาโร ‘‘สจาหํ ภาตุ เวรีมฺหิ, สงฺขลิกาปิ เม หตฺถปาทา มา มุจฺจนฺตุ, ทฺวารมฺปิ มา วิวรียตุ, สเจ โน เวรีมฺหิ, สงฺขลิกาปิ เม หตฺถปาทา มุจฺจนฺตุ, ทฺวารมฺปิ  วิวรียตู’’ติ สจฺจกิริยมกาสิฯ ตาวเทว สงฺขลิกาปิ ขณฺฑาขณฺฑํ ฉิชฺชิํสุ, ทฺวารมฺปิ วิวฏํฯ  โส นิกฺขมิตฺวา เอกํ ปจฺจนฺตคามํ คนฺตฺวา วาสํ กปฺเปสิฯ
กุมาโร อ.พระกุมาร อกาสิ ได้ทรงกระทำแล้ว สจฺจกิริยํ ซึ่งการตั้งสัจจะ อิติ ว่า สเจ ถ้าว่า อหํ เรา เวรี เป็นผู้มีเวร ภาตุ ต่อพระภาดา อมฺหิ ย่อมเป็น, สงฺขลิกาปิ แม้อ.เครื่องจองจำท. มา มุจฺจนฺตุ จงอย่าหลุด หตฺถปาทา จากมือและเท้าท. เม ของเรา, ทฺวารมฺปิ แม้ประตู มา วิวรียตุ จงอย่าเปิด, สเจ ถ้าว่า อหํ เรา เวรี เป็นผู้มีเวร อมฺหิ ย่อมเป็น, สงฺขลิกาปิ แม้เครื่องจองจำท.  มุจฺจนฺตุ จงหลุด หตฺถปาทา จากมือและเท้าท. เม ของเรา, ทฺวารมฺปิ แม้ประตู วิวริยตุ จงเปิด ดังนี้. ตาวเทว ในขณะนั้นนั่นเทียว สงฺขลิกาปิ แม้เครื่องจองจำท. ฉิชฺชึสุ ขาดแล้ว ขณฺฑาขณฺฑํ เป็นท่อนน้อยท่อนใหญ่ หุตฺวา เป็น. ทฺวารมฺปิ แม้ประตู วิวฏํ เปิดแล้ว. โส พระกุมารนั้น คนฺตฺวา ไปแล้ว เอกํ ปจฺจนฺตคามํ สู่หมู่บ้านที่ชายแดนแห่งหนึ่ง กปฺเปสิ สำเร็จแล้ว วาสํ ซึ่งการอยู่.

ปจฺจนฺตคามวาสิโน ตํ สญฺชานิตฺวา อุปฏฺฐหิํสุฯ ราชาปิ ตํ คาหาเปตุํ นาสกฺขิฯ โส    อนุปุพฺเพน ปจฺจนฺตชนปทํ หตฺถคตํ กตฺวา มหาปริวาโร หุตฺวา ‘‘อหํ ปุพฺเพ ภาตุ น เวรี, อิทานิ ปน เวรีมฺหี’’ติ มหาชนปริวุโต มิถิลํ คนฺตฺวา พหินคเร ขนฺธาวารํ กตฺวา วาสํ กปฺเปสิฯ นครวาสิโน โยธา ‘‘กุมาโร กิร อาคโต’’ติ สุตฺวา เยภุยฺเยน หตฺถิอสฺสวาหนาทีนิ คเหตฺวา ตสฺเสว สนฺติกํ อาคมิํสุ, อญฺเญปิ นาครา อาคมิํสุฯ โส ภาตุ สาสนํ เปเสสิ ‘‘นาหํ ปุพฺเพ ตุมฺหากํ เวรี, อิทานิ ปน เวรีมฺหิ, ฉตฺตํ วา เม เทถ, ยุทฺธํ วา’’ติฯ ราชา ตํ สุตฺวา ยุทฺธํ กาตุํ อิจฺฉนฺโต อคฺคมเหสิํ   อามนฺเตตฺวา ‘‘ภทฺเท, ยุทฺเธ ชยปราชโย นาม น สกฺกา ญาตุํ, สเจ มม อนฺตราโย โหติ, ตฺวํ  คพฺภํ รกฺเขยฺยาสี’’ติ วตฺวา มหติยา เสนาย ปริวุโต นครา นิกฺขมิฯ
ปจฺจนฺตคามวาสิโน ชนท. ผู้อยู่ในปัจจันตคามโดยปกติ สญฺชานิตฺวา จำได้แล้ว ตํ   ซึ่งพระโปลชนกนั้น อุปฏฺฐหึสุ บำรุงแล้ว. ราชาปิ แม้พระราชา น อสกฺขิ ไม่ได้อาจแล้ว  คาหาเปตุ เพื่ออันยังบุคคลให้จับ ตํ ซึ่งพระโปลชนกนั้น. โส พระโปลชนกนั้น กตฺวา กระทำแล้ว ปจฺจนฺตชนปทํ ซึ่งปัจจันตชนบทนั้น หตฺถคตํ ให้เป็นชนบทไปแล้วในมือ มหาปริวาโร หุตฺวา เป็นผู้มีบริวารมาก เป็น อนุปุพฺเพน โดยลำดับ จินฺเตตฺวา คิดแล้ว อิติ ว่า อหํ เรา เวรี เป็นผู้มีเวร ภาตุ ของพระภาดา ปุพฺเพ ในกาลก่อน หามิได้, ปน แต่ว่า อิทานิ ในบัดนี้ อหํ เรา เวรี เป็นผู้มีเวร อมฺหิ ย่อมเป็น” ดังนี้ มหาชนปริวุโต ผู้อันมหาชนแวดล้อมแล้ว คนฺตฺวา ไปแล้ว มิถิลํ สู่เมืองมิถิลา กตฺวา กระทำแล้ว ขนฺธาวารํ ซึ่งค่าย กปฺเปสิ สำเร็จแล้ว วสํ ซึ่งการอยู่ พหินคเร ในภายนอกแห่งพระนคร. โยธา ทหารท. นครวาสิโน ผู้อยู่ในพระนครโดยปกติ สุตฺวา ฟังแล้ว อิติ ว่า กิร ได้ยินว่า  กุมาโร พระกุมาร อาคโต เสด็จมาแล้ว” ดังนี้ คเหตฺวา พาเอา หตฺถิอสฺสวาหนาทีนิ ซึ่งวัตถุท.มีช้าง ม้าและพาหนะเป็นต้น อาคมึสุ มาแล้ว สนฺติกํ สู่สำนัก ตสฺส เอว ของพระโปลชนกนั่นเทียว เยภุยฺเยน โดยมาก. นาครา ชนท. ผู้อยู่ในพระนครโดยปกติ อญฺเญปิ แม้เหล่าอื่น อาคมึสุ มาแล้ว. โส พระโปลชนก เปเสสิ ยังบุคคลให้ส่งไปแล้ว สาสนํ ซึ่งข่าวสาร อิติ ญาปนเหตุกํ อันเป็นให้รู้ว่า ปุพฺเพ ในกาลก่อน อหํ หม่อมฉัน เวรี เป็นผู้มีเวร หุตฺวา เป็น ตุมฺหากํ ของพระองค์ หามิได้, ปน แต่ว่า อิทานิ บัดนี้ อหํ หม่อมฉัน เวรี เป็นผู้มีเวร อมฺหิ ย่อมเป็น, ตุมฺเห พระองค์ท. เทถ จงให้ ฉตฺตํ ซึ่งฉัตร เม แก่ข้าพระองค์ วา หรือ, วา หรือว่า ตุมฺเห พระองค์ท. เทถ จงให้ ยุทฺธํ ซึ่งการรบ ดังนี้. ราชา พระราชาพระนามว่า อริฏฐชนก สุตฺวา ฟังแล้ว ตํ ซึ่งคำนั้น อิจฺฉนฺโต ทรงปรารถนาอยู่ กาตุ เพื่ออันทรงกระทำ ยุทฺธํ ซึ่งการรบ อามนฺเตตฺวา เรียกมาแล้ว  อคฺคมเหสึ ซึ่งพระมเหสีผู้เลิศ วตฺวา ตรัสแล้ว อิติ ว่า ภทฺเท แน่นางผู้เจริญ ชยปราชโย นาม ชื่อว่า ความชนะหรือความพ่ายแพ้ ยุทฺเธ ในการรบ มยา อันเรา น สกฺกา ญาตุ ไม่อาจ เพื่ออันรู้, สเจ หากว่า อนฺตราโย อันตราย โหติ ย่อมมี มม แก่เราไซร้,  ตฺวํ เธอ รกฺเขยฺยาสิ พึงรักษา คพฺภํ ซึ่งสัตว์ผู้เกิดแล้วในครรภ์ ดังนี้ เสนาย ผู้อันกองทัพ มหติยา ใหญ่ ปริวุโต ทรงแวดล้อมแล้ว นิกฺขมิ เสด็จออกแล้ว นครา จากพระนคร.



[1] (การเสด็จออกเพื่อคุณยิ่งใหญ่)
[2] (สถานที่เป็นที่สนทนาธรรมร่วมกัน)

ไม่มีความคิดเห็น:

แสดงความคิดเห็น