๗.
พุทฺธปูชนปญฺโห
๗.
พุทฺธปูชนปญฺโห
พุทธปูชนปัญหา
ปัญหาว่าด้วยการบูชาพระพุทธเจ้า
๗.
‘‘ภนฺเต นาคเสน, ภาสิตมฺเปตํ ตถาคเตน ‘อพฺยาวฏา ตุมฺเห, อานนฺท, โหถ ตถาคตสฺส สรีรปูชายา’ติฯ มิลินฺโท ราชา พระเจ้ามิลินท์ อาห ตรัสถามแล้ว อิติ
ว่า ภนฺเต นาคเสน ข้าแต่พระนาคเสนผู้เจริญ เอตํ วจนํ พระดำรัสนั้น ตถาคเตน
อันพระตถาคต ภาสิตมฺปิ แม้ทรงภาษิตแล้ว อิติ ว่า อานนฺท
อานนท์ ตุมฺเห พวกเธอ อพฺยาวฏา เป็นผู้ไม่ขวนขวายแล้ว สรีรปูชาย เพื่อการบูชาสรีระ
ตถาคตสฺส ของพระตถาคต โหถ จงเป็น ดังนี้.
ปุน
จ ภณิตํ –
‘‘‘ปูเชถ นํ ปูชนิยสฺส ธาตุํ;
เอวํ
กรา สคฺคมิโต คมิสฺสถา’ติฯ
จ
แต่ว่า เอตํ วจนํ พระดำรัสนี้ ภควตา อันพระผู้มีพระภาค ภณิตํ
ตรัสแล้ว ปุน อีก อิติ ว่า ตุมฺเห ท่านทั้งหลาย ปูเชถ
จงบูชา ธาตุํ ซึ่งพระบรมสารีริกธาตุ นํ นั้น ปูชนิยสฺส
ผู้ควรบูชา, กรา เพราะการกระทำ (ปูชนสฺส ซึ่งการบูชา) เอวํ
อย่างนี้ ตุมฺเห ท่านทั้งหลาย คมิสฺสถ จักไป อิโต
จากโลกนี้ สคฺคํ สู่สวรรค์ ดังนี้
ภนฺเต
นาคเสน
ข้าแต่พระนาคเสนผู้เจริญ ยทิ ถ้าว่า เอตํ วจนํ พระดำรัสนั้น ตถาคเตน
อันพระตถาคต ภาสิตมฺปิ แม้ทรงภาษิตแล้ว อิติ ว่า อานนฺท
อานนท์ ตุมฺเห พวกเธอ อพฺยาวฏา เป็นผู้ไม่ขวนขวายแล้ว สรีรปูชาย เพื่อการบูชาสรีระ
ตถาคตสฺส ของพระตถาคต โหถ จงเป็น ดังนี้ จริงไซร้, เตน หิ
ถ้าอย่างนั้น ยํ วจนํ พระดำรัสใด อิติ ว่า ตุมฺเห ท่านทั้งหลาย
ปูเชถ จงบูชา ธาตุํ ซึ่งพระบรมสารีริกธาตุ นํ นั้น ปูชนิยสฺส
ผู้ควรบูชา, กรา เพราะการกระทำ (ปูชนสฺส ซึ่งการบูชา) เอวํ
อย่างนี้ ตุมฺเห ท่านทั้งหลาย คมิสฺสถ จักไป อิโต
จากโลกนี้ สคฺคํ สู่สวรรค์ ดังนี้,
ตํ วจนํ พระดำรัสนั้น มิจฺฉา เป็นอันผิด.
ยทิ ตถาคเตน ภณิตํ ‘ปูเชถ
นํ ปูชนิยสฺส ธาตุํ, เอวํ กรา สคฺคมิโต คมิสฺสถา’ติ, เตน หิ ‘อพฺยาวฏา ตุมฺเห
อานนฺท, โหถ ตถาคตสฺส สรีรปูชายา’ติ
ตมฺปิ วจนํ มิจฺฉาฯ
ยทิ ถ้าว่า วจนํ
พระดำรัสนี้ อิติ ว่า ตุมฺเห
ท่านทั้งหลาย
ปูเชถ จงบูชา ธาตุํ ซึ่งพระบรมสารีริกธาตุ นํ นั้น ปูชนิยสฺส
ผู้ควรบูชา, กรา เพราะการกระทำ (ปูชนสฺส ซึ่งการบูชา) เอวํ
อย่างนี้ ตุมฺเห ท่านทั้งหลาย คมิสฺสถ จักไป อิโต
จากโลกนี้ สคฺคํ สู่สวรรค์ ดังนี้
ตถาคเตน อันพระตถาคต ภณิตํ ตรัสแล้ว จริงไซร้, เตน หิ
ถ้าอย่างนั้น วจนํ พระดำรัส ตมฺปิ
แม้นั้น อิติ ว่า อานนฺท อานนท์ ตุมฺเห พวกเธอ อพฺยาวฏา เป็นผู้ไม่ขวนขวายแล้ว
สรีรปูชาย เพื่อการบูชาสรีระ ตถาคตสฺส ของพระตถาคต โหถ
จงเป็น ดังนี้ มิจฺฉา เป็นอันผิด.
อยมฺปิ
อุภโต โกฏิโก ปญฺโห ตวานุปฺปตฺโต, โส ตยา นิพฺพาหิตพฺโพ’’ติฯ
อยมฺปิ
ปญฺโห ปัญหาแม้นี้ โกฏิโก มีที่สุด อุภโต
โดยส่วนสอง อนุปฺปตฺโต มาถึงแล้ว ตว แก่ท่าน, โส ปญฺโห ปัญหานั้น
ตยา อันท่าน นิพฺพาหิตพฺโพ = กเถตพฺโพ พึงแถลงเถิด ดังนี้.
‘‘ภาสิตมฺเปตํ,
มหาราช, ภควตา ‘อพฺยาวฏา
ตุมฺเห, อานนฺท, โหถ ตถาคตสฺส
สรีรปูชายา’ติ, ปุน จ ภณิตํ ‘ปูเชถ นํ ปูชนิยสฺส ธาตุํ, เอวํ กรา สคฺคมิโต คมิสฺสถา’ติ, ตญฺจ ปน น สพฺเพสํ ชินปุตฺตานํ เยว อารพฺภ ภณิตํ
‘อพฺยาวฏา ตุมฺเห, อานนฺท, โหถ ตถาคตสฺส สรีรปูชายา’ติฯ
นาคเสนตฺเถโร
พระนาคเสนเถระ
อาห ทูลแล้ว อิติ ว่า มหาราช มหาบพิตร เอตํ วจนํ
พระดำรัสนั้น ตถาคเตน อันพระตถาคต ภาสิตมฺปิ แม้ทรงภาษิตแล้ว อิติ
ว่า อานนฺท อานนท์ ตุมฺเห พวกเธอ อพฺยาวฏา เป็นผู้ไม่ขวนขวายแล้ว
สรีรปูชาย เพื่อการบูชาสรีระ ตถาคตสฺส ของพระตถาคต โหถ
จงเป็น ดังนี้ จริง, จ และ เอตํ วจนํ
พระดำรัสนี้ ภควตา อันพระผู้มีพระภาค ภณิตํ ตรัสแล้ว ปุน อีก
อิติ ว่า ตุมฺเห ท่านทั้งหลาย ปูเชถ จงบูชา ธาตุํ ซึ่งพระบรมสารีริกธาตุ
นํ นั้น ปูชนิยสฺส ผู้ควรบูชา, กรา เพราะการกระทำ (ปูชนสฺส
ซึ่งการบูชา) เอวํ อย่างนี้ ตุมฺเห ท่านทั้งหลาย คมิสฺสถ
จักไป อิโต จากโลกนี้ สคฺคํ
สู่สวรรค์ ดังนี้ จริง, จ ปน ก็แล ตํ วจนํ พระดำรัสนั้น ตถาคเตน อันพระตถาคต
ภณิตํ ตรัส อารพฺภ ปรารภ สพฺเพสํ สำหรับชนทั้งปวง น หามิได้,
เอตํ วจนํ พระดำรัสนี้ อิติ ว่า อานนฺท อานนท์
ตุมฺเห พวกเธอ อพฺยาวฏา เป็นผู้ไม่ขวนขวายแล้ว สรีรปูชาย เพื่อการบูชาสรีระ
ตถาคตสฺส ของพระตถาคต โหถ จงเป็น ดังนี้ (ตถาคเตน อันพระตถาคต ภณิตํ
ตรัส อารพฺภ ปรารภ) ชินปุตฺตานํเยว สำหรับภิกษุผู้เป็นพระโอรสของพระชินเจ้าเท่านั้น.
อกมฺมํ เหตํ, มหาราช,
ชินปุตฺตานํ ยทิทํ ปูชา, สมฺมสนํ
สงฺขารานํ, โยนิโส มนสิกาโร, สติปฏฺฐานานุปสฺสนา,
อารมฺมณสารคฺคาโห, กิเลสยุทฺธํ, สทตฺถมนุยุญฺชนา, เอตํ ชินปุตฺตานํ กรณียํ, อวเสสานํ เทวมนุสฺสานํ ปูชา กรณียาฯ
มหาราช มหาบพิตร
หิ เพราะว่า เอตํ กมฺมํ การกระทำนี้ ยทิทํ คือ ปูชา
การบูชาอกมฺมํ ไม่ใช่การงาน ชินฺปุตฺตานํ
สำหรับภิกษุผู้เป็นโอรสของพระชินเจ้า,[1]
เอตํ กมฺมํ การงานนี้ คือ สมฺมสนํ สงฺขารานํ การพิจารณาสังขาร, โยนิโส
มนสิกาโร โยนิโสมนสิการ, สติปฏฺฐานานุปสฺสนา การตามพิจารณา
ในสติปัฏฐาน, อารมฺมณสารคฺคาโห การถือเอาซึ่งแก่นสารในอารมณ์, กิเลสยุทฺธํ
การรบกับกิเลส, สทตฺถมนุยุญฺชนา การขวนขวายในประโยชน์ตน กรณียํ
เป็นกิจอันควรกระทำ ชินปุตฺตานํ สำหรับภิกษุผู้เป็นชินบุตร, ปูชา
การบูชา กรณียา เป็นสิ่งควรกระทำ เทวมนุสฺสานํ
สำหรับเทวดาและมนุษย์ทั้งหลาย อวเสสานํ ที่เหลือ.
‘‘ยถา, มหาราช, มหิยา
ราชปุตฺตานํ หตฺถิอสฺสรถธนุถรุเลขมุทฺทาสิกฺขาขคฺคมนฺตสุติ- สมฺมุติยุทฺธยุชฺฌาปนกิริยา
กรณียา, อวเสสานํ ปุถุเวสฺสสุทฺทานํ กสิ วณิชฺชา โครกฺขา
กรณียา, เอวเมว โข, มหาราช, อกมฺมํ เหตํ ชินปุตฺตานํ ยทิทํ ปูชา, สมฺมสนํ
สงฺขารานํ, โยนิโส มนสิกาโร, สติปฏฺฐานานุปสฺสนา,
อารมฺมณสารคฺคาโห, กิเลสยุทฺธํ, สทตฺถมนุยุญฺชนา, เอตํ ชินปุตฺตานํ กรณียํ, อวเสสานํ เทวมนุสฺสานํ ปูชา กรณียาฯ
มหาราช มหาบพิตร มหิยา
ในโลกนี้ หตฺถิ อสฺส รถ ธนุ ถรุ เลข มุทฺทาสิกฺขา - ขคฺค มนฺต สุติ สมฺมุติ ยุทฺธ
ยุชฺฌาปนกิริยา การศึกษาเรื่องช้าง ม้า รถ ธนู ดาบ เลข การคำณวน และพระขรรค์
เวทมนต์ กฎหมาย การรบ การจัดแจงทัพ กรณียา เป็นกิจที่พึงกระทำ ราชปุตฺตานํ
แห่งพระราชโอรส, (เอสา กิริยา การงานเหล่านี้ คือ) กสิ วณิชฺชา โครกฺขา
การไถนา การค้าขาย การเลี้ยงโค กรณียา เป็นกิจอันพึงกระทำ ปุถุเวสฺสสุทฺทานํ
ของพวกแพศย์และศูทรมากมายทั้งหลาย อวเสสานํ ที่เหลือ ยถา ฉันใด, มหาราช
มหาบพิตร เอตํ กมฺมํ การกระทำนี้ ยทิทํ คือ ปูชา การบูชาอกมฺมํ
ไม่ใช่การงาน ชินฺปุตฺตานํ สำหรับภิกษุผู้เป็นโอรสของพระชินเจ้า,[2]
เอตํ กมฺมํ การงานนี้ คือ สมฺมสนํ สงฺขารานํ การพิจารณาสังขาร, โยนิโส
มนสิกาโร โยนิโสมนสิการ, สติปฏฺฐานานุปสฺสนา การตามพิจารณา
ในสติปัฏฐาน, อารมฺมณสารคฺคาโห การถือเอาอารมณ์อันเป็นสาระ[3],
กิเลสยุทฺธํ การรบกับกิเลส, สทตฺถมนุยุญฺชนา การขวนขวายในประโยชน์ตน
กรณียํ เป็นกิจอันควรกระทำ ชินปุตฺตานํ สำหรับภิกษุผู้เป็นชินบุตร, ปูชา
การบูชา กรณียา เป็นสิ่งควรกระทำ เทวมนุสฺสานํ
สำหรับเทวดาและมนุษย์ทั้งหลาย อวเสสานํ ที่เหลือ เอวเมว โข
ฉันนั้นนั่นเทียวแล.
‘‘ยถา วา ปน, มหาราช, พฺราหฺมณมาณวกานํ
อิรุเวทํ ยชุเวทํ สามเวทํ อถพฺพณเวทํ ลกฺขณํ อิติหาสํ ปุราณํ
นิฆณฺฑุ เกฏุภํ อกฺขรปฺปเภทํ ปทํ เวยฺยากรณํ ภาสมคฺคํ อุปฺปาตํ สุปินํ นิมิตฺตํ
ฉฬงฺคํ จนฺทคฺคาหํ สูริยคฺคาหํ สุกฺกราหุจริตํ อุฬุคฺคหยุทฺธํ
[โอฬุคฺคหยุทฺธํ (ก.)] เทวทุนฺทุภิสฺสรํ โอกฺกนฺติ อุกฺกาปาตํ ภูมิกมฺมํ
[ภูมิกมฺปํ (สี. ปี.)] ทิสาทาหํ ภุมฺมนฺตลิกฺขํ โชติสํ โลกายติกํ
สาจกฺกํ มิคจกฺกํ อนฺตรจกฺกํ มิสฺสกุปฺปาทํ สกุณรุตรวิตํ [สกุณรุตํ
(สี.)] สิกฺขา กรณียา, อวเสสานํ ปุถุเวสฺสสุทฺทานํ กสิ วณิชฺชา
โครกฺขา กรณียา, เอวเมว โข, มหาราช,
อกมฺมํ เหตํ ชินปุตฺตานํ ยทิทํ ปูชา, สมฺมสนํ
สงฺขารานํ, โยนิโส มนสิกาโร, สติปฏฺฐานานุปสฺสนา,
อารมฺมณสารคฺคาโห, กิเลสยุทฺธํ, สทตฺถมนุยุญฺชนา, เอตํ ชินปุตฺตานํ กรณียํ, อวเสสานํ เทวมนุสฺสานํ ปูชา กรณียา, ตสฺมา, มหาราช, ตถาคโต ‘มา อิเม
อกมฺเม ยุญฺชนฺตุ, กมฺเม อิเม ยุญฺชนฺตู’ติ อาห ‘อพฺยาวฏา ตุมฺเห, อานนฺท,
โหถ ตถาคตสฺส สรีรปูชายา’ติฯ ยเทตํ, มหาราช, ตถาคโต น ภเณยฺย, ปตฺตจีวรมฺปิ
อตฺตโน ปริยาทาเปตฺวา ภิกฺขู พุทฺธปูชํ เยว กเรยฺยุ’’นฺติฯ
มหาราช มหาบพิตร ปน
ก็ วา อีกอย่างหนึ่ง สิกฺขา การศึกษา (สตฺเถสุ) ในศาสตร์ทั้ืงหลาย
คือ อิรุเวทํ อิรุเพท ยชุเวทํ ยชุเพท สามเวทํ สามเพท อถพฺพณเวทํ
อาถรรพณเพท ลกฺขณํ คัมภีร์ลักขณะ อิติหาสํ
คัมภีร์อิติหาสะ ปุราณํ
คัมภีร์ปุราณะ นิฆนฺฑุ คัมภีร์นิฆัณฑุ เกฏุภํ คัมภีร์เกฏุภะ อกฺขรปฺปเภทํ
คัมภีร์อักขรัปปเภทะ ปทํ คัมภีร์ปทะ เวยฺยากรณํ คัมภีร์พยากรณ์ ภาสมคฺคํ
คัมภีร์ภาสมัคคะ อุปฺปาตํ คัมภีร์อุบาทว์ สุปินํ คัมภีร์สุปินะ นิมิตฺตํ
คัมภีร์นิมิต ฉฬงฺคํ คัมภีร์ฉฬังคะ จนฺทคฺคาหํ คัมภีร์จันทคาหะ สูริยคฺคาหํ
คัมภีร์สุริยคาหะ สุกฺกราหุจริตํ คัมภีร์สุกกราหุจริตะ อุฬุคฺคหยุทฺธํ
คัมภีร์อุฬุคคหยุทธะ เทวทุนฺทุภิสฺสรํ คัมภีร์เทวทุนภิสสระ โอกฺกนฺติ
คัมภีร์โอกกันติ อุกฺกาปาตํ คัมภีร์อุกกาบาต ภูมิกมฺมํ
คัมภีร์ภูมิกัมมะ ทิสาทาหํ คัมภีร์ทิสาทาหะ ภุมฺมนฺตลิกฺขํ
คัมภีร์ภุมมันตลิกขะ โชติสํ คัมภีร์โชติสะ โลกายติกํ คัมภีร์โลกายตะ
สาจกฺกํ คัมภีร์สาจักกะ มิคจกฺกํ คัมภีร์มิคจักกะ อนฺตรจกฺกํ
คัมภีร์อันตรจักกะ มิสฺสกุปฺปาทํ คัมภีร์มิสสากุปปาทะ สกุณรุตรวิตํ คัมภีร์สกุณรตรวิตะ
พฺราหฺมณมาณวกานํ อันพราหมณ์หนุ่มทั้งหลาย กรณียา พึงกระทำ, กสิ
การไถนา วณิชฺชา การค้าขาย โครกฺขา การเลี้ยงโค กมฺมนฺตา
เป็นการงาน ปุถุเวสฺสสุทฺทานํ อันชนวรรณะแพศย์และสูทเป็นอันมาก อวเสสานํ
ที่เหลือ กรณียา อันพึงกระทำ ยถา ฉันใด, เอตํ กมฺมํ
การงานนี้ คือ สมฺมสนํ สงฺขารานํ การพิจารณาสังขาร, โยนิโส มนสิกาโร
โยนิโสมนสิการ, สติปฏฺฐานานุปสฺสนา การตามพิจารณา ในสติปัฏฐาน, อารมฺมณสารคฺคาโห
การถือเอาอารมณ์อันเป็นสาระ[4],
กิเลสยุทฺธํ การรบกับกิเลส, สทตฺถมนุยุญฺชนา การขวนขวายในประโยชน์ตน
กรณียํ เป็นกิจอันควรกระทำ ชินปุตฺตานํ สำหรับภิกษุผู้เป็นชินบุตร, ปูชา
การบูชา กรณียา เป็นสิ่งควรกระทำ เทวมนุสฺสานํ
สำหรับเทวดาและมนุษย์ทั้งหลาย อวเสสานํ ที่เหลือ เอวเมว โข
ฉันนั้นนั่นเทียวแล.
‘‘สาธุ, ภนฺเต นาคเสน, เอวเมตํ
ตถา สมฺปฏิจฺฉามี’’ติฯ
มิลินฺโท ราชา พระเจ้ามิลินท์ อาห ตรัสถามแล้ว อิติ
ว่า ภนฺเต นาคเสน ข้าแต่พระนาคเสนผู้เจริญ เอวํ = สพฺพํ วจนํ เอวํ สภาวโต
โหติ คำอธิบายทั้งปวง
โหติ ย่อมมี สภาวโต ตามความเป็นจริง เอวํ อย่างนี้, เอตํ
= สพฺพํ เหฏฺฐาวจนํ ตยา
วุตฺตํ ยถา โหติ, ตํ สมฺปฏิจฺฉาม, สพฺพํ เหฏฺฐาวจนํ ถ้อยคำข้างต้นทั้งปวง ตยา อันท่าน วุตฺตํ
กล่าวแล้ว โหติ ย่อมมี ยถา โดยประการใด, อหํ ข้าพเจ้า สมฺปฏิจฺฉามิ
ขอน้อมรับไว้ ตํ วจนํ ซึ่งคำนั้น ตถา ด้วยประการนั้น ดังนี้.
พุทฺธปูชนปญฺโห
สตฺตโมฯ
พุทฺธปูชนปญฺโห
สตฺตโมฯ
พุทธปูชนปัญหา
สตฺตโม ลำดับที่ ๗
นิฏฺฐิโต จบแล้วฯ
[1] หรือจะแปลแบบเต็มความ ยํ อิทํ = ยา เอสา ปูชา
การบูชานี้ใด, เอตํ = ตา ปูชา การบูชานี้ อกมฺมํ
ไม่ใช่การงาน ชินปุตฺตานํ ของภิกษุผู้เป็นโอรสของพระชินเจ้า.
[2] หรือจะแปลแบบเต็มความ ยํ อิทํ = ยา เอสา ปูชา
การบูชานี้ใด, เอตํ = ตา ปูชา การบูชานี้ อกมฺมํ
ไม่ใช่การงาน ชินปุตฺตานํ ของภิกษุผู้เป็นโอรสของพระชินเจ้า.
[3] คือ กัมมัฏฐาน ๔๐ มีอสุภะ ๑๐ เป็นต้น
[4] คือ กัมมัฏฐาน ๔๐ มีอสุภะ ๑๐ เป็นต้น