วันเสาร์ที่ 10 กันยายน พ.ศ. 2559

มิลินทปัญหา แปล : อนุมานวรรคที่ ๔ : อนุมานปัญหาที่ ๑ [1]

๔. อนุมานวคฺโค[1]
๑. อนุมานปญฺโห 
อนุมานวรรคที่ ๔ : อนุมานปัญหาที่ ๑ 
. อถ โข มิลินฺโท ราชา เยนายสฺมา นาคเสโน เตนุปสงฺกมิ, อุปสงฺกมิตฺวา อายสฺมนฺตํ นาคเสนํ อภิวาเทตฺวา เอกมนฺตํ นิสีทิ, เอกมนฺตํ นิสินฺโน โข มิลินฺโท ราชา ญาตุกาโม โสตุกาโม ธาเรตุกาโม ญาณาโลกํ ทฏฺฐุกาโม อญฺญาณํ ภินฺทิตุกาโม ญาณาโลกํ อุปฺปาเทตุกาโม อวิชฺชนฺธการํ นาเสตุกาโม อธิมตฺตํ ธิติญฺจ อุสฺสาหญฺจ สติญฺจ สมฺปชญฺญญฺจ อุปฏฺฐเปตฺวา อายสฺมนฺตํ นาคเสนํ เอตทโวจ ‘‘ภนฺเต นาคเสน, กิํ ปน พุทฺโธ ตยา ทิฏฺโฐ’’ติฯ ‘‘น หิ, มหาราชา’’ติฯ ‘‘กิํ ปน เต อาจริเยหิ พุทฺโธ ทิฏฺโฐ’’ติ? ‘‘น หิ, มหาราชา’’ติฯ ‘‘ภนฺเต นาคเสน, น กิร ตยา พุทฺโธ ทิฏฺโฐ, นาปิ กิร เต อาจริเยหิ พุทฺโธ ทิฏฺโฐ, เตน หิ, ภนฺเต นาคเสน, นตฺถิ พุทฺโธ, น เหตฺถ พุทฺโธ ปญฺญายตี’’ติฯ
๑. อถ โข ลำดับนั้น มิลินฺโท ราชา พระราชา พระนามว่า มิลินท์ อายสฺมา นาคเสโน ท่านพระนาคเสน วสติ อยู่ เยน =  ยตฺถ ทิสาภาเค ในส่วนแห่งทิศใด, อุปสงฺกมิ เสด็จเข้าไปแล้ว เตน = ตํ ทิสาภาคํ สู่ส่วนแห่งทิศนั้น, อุปสงฺกมิตฺวา ครั้นเสด็จเข้าไปแล้ว อภิวาเทตฺวา ทรงนมัสการ อายสฺมนฺตํ นาคเสนํ ท่านพระนาคเสนแล้ว นิสีทิ จึงประทับนั่ง เอกมนฺตํ ณ ที่สมควรแห่งหนึ่ง, มิลินฺโท ราชา พระราชาพระนามว่า มิลินท์ นิสินฺโน โข ครั้นประทับนั่งเรียบร้อย เอกมนฺตํ ณที่สมควรแห่งหนึ่งแล้ว ญาตุกาโม มีพระประสงค์จะทราบ โสตุกาโม จะสดับ ธาเรตุกาโม จะจดจำไว้ ทฏฺฐุกาโม จะทอดพระเนตรเห็น ญาณาโลกํ  ซึ่งแสงสว่างคือความรู้ ภินฺทิตุกาโม จะทำลาย อญฺญาณํ ซึ่งความไม่รู้ อุปฺปาเทตุกาโม จะทำ - ญาณาโลกํ ซึ่งแสงสว่างคือญาณ - ให้เกิดขึ้น นาเสตุกาโม จะทำ - อวิชฺชนฺธการํ ความมืดคืออวิชชา - ให้พินาศ อุปฏฺฐเปตฺวา ทรงตั้งไว้ ธิติํ จ ความทรงจำ อุสฺสาหํ จ ความอุตสาหะ สติํ สติ สมฺปชญฺญํ จ และสัมปชัญญะ อโวจ แล้วจึงตรัส เอตํ วจนํ พระดำรัสนี้ อายสฺมนฺตํ นาคเสนํ กะท่านพระนาคเสน อิติ ว่า ภนฺเต นาคเสน พระคุณเจ้านาคเสน ตยา ปน พระคุณเจ้า ทิฏฺโฐ เคยเห็น พุทฺโธ  พระพุทธเจ้าแล้ว กิํ หรือไร ดังนี้