วันพฤหัสบดีที่ 23 มิถุนายน พ.ศ. 2565

๓. วัตถคุยหนิทัสสนปัญหา ปัญหาว่าด้วยการแสดงของลับ (ปณามิตวรรค เมณฑกกัณฑ์)

 

๓. วตฺถคุยฺหนิทสฺสนปญฺโห

. วัตถคุยหนิทัสสนปัญหา

ปัญหาว่าด้วยการแสดงของลับ

****

. ‘‘ภนฺเต นาคเสน, ภาสิตมฺเปตํ ตถาคเตน

‘‘‘กาเยน สํวโร สาธุ     สาธุ วาจาย สํวโร;

มนสา สํวโร สาธุ,       สาธุ สพฺพตฺถ สํวโรติฯ

๓. ราชา มิลินฺโท พระเจ้ามิลินท์ อาห รับสั่งถามแล้ว อิติ ว่า ภนฺเต นาคเสน ข้าแต่พระนาคเสนผู้เจริญ เอตํ วจนํ พระดำรัสนี้ อิติ ว่า  สํวโร ความสำรวม กาเยน ทางกาย สาธุ เป็นเหตุทำประโยชน์ให้สำเร็จ,  สํวโร ความสำรวม วาจาย ทางวาจา สาธุ เป็นเหตุทำประโยชน์ให้สำเร็จ, สํวโร ความสำรวม มนสา ทางใจ สาธุ เป็นเหตุทำประโยชน์ให้สำเร็จ, สํวโร ความสำรวม สพฺพตฺถ (ทฺวาเรสุ) ในทวารทั้งหลายทั้งปวง สาธุ เป็นเหตุทำประโยชน์ให้สำเร็จ ดังนี้  ภควตา อันพระผู้มีพระภาค ภาสิตมฺปิ ก็ทรงภาษิตไว้[๑].

 

 ‘‘ปุน จ ตถาคโต จตุนฺนํ ปริสานํ มชฺเฌ นิสีทิตฺวา ปุรโต เทวมนุสฺสานํ เสลสฺส พฺราหฺมณสฺส โกโสหิตํ วตฺถคุยฺหํ ทสฺเสสิฯ

ก็ ตถาคโต พระตถาคต นิสีทิตฺวา ประทับนั่งแล้ว มชฺเฌ ท่ามกลาง จตุนฺนํ ปริสานํ แห่งบริษัท ๔ ทสฺเสสิ ทรงแสดงแล้ว วตฺถคุยฺหํ ซึ่งพระวัตถคุยหะ[๒] (ของลับ) โกโสหิตํ อันซ่อนอยู่ในฝัก พฺราหฺมณสฺส แก่พราหมณ์ เสลสส ชื่อว่า เสละ ปุรโต เบื้องหน้า เทวมนุสฺสานํ แห่งเทวดาและมนุษย์ทั้งหลาย ปุน อีก.

 

ยทิ, ภนฺเต นาคเสน, ภควตา ภณิตํ กาเยน สํวโร สาธูติ, เตน หิ เสลสฺส พฺราหฺมณสฺส โกโสหิตํ วตฺถคุยฺหํ ทสฺเสสีติ ยํ วจนํ, ตํ มิจฺฉาฯ ยทิ เสลสฺส พฺราหฺมณสฺส โกโสหิตํ วตฺถคุยฺหํ ทสฺเสติ, เตน หิ กาเยน สํวโร สาธูติ ตมฺปิ วจนํ มิจฺฉาฯ

ภนฺเต นาคเสน ข้าแต่พระนาคเสนผู้เจริญ ยทิ ถ้าหากว่า วจนํ พระดำรัส อิติ ว่า สํวโร ความสำรวม กาเยน ทางกาย สาธุ เป็นเหตุทำประโยชน์ให้สำเร็จ ดังนี้ ภควตา อันพระผู้มีพระภาค ภณิตํ ตรัสแล้ว, เตน หิ ถ้าอย่างนั้น ยํ วจนํ พระดำรัสใด อิติ ว่า ตถาคโต พระตถาคต ทสฺเสสิ ทรงแสดงแล้ว วตฺถคุยฺหํ ซึ่งพระวัตถคุยหะ โกโสหิตํ อันซ่อนอยู่ในฝัก พฺราหฺมณสฺส แก่พราหมณ์ เสลสส ชื่อว่า เสละ ดังนี้ ตํ วจนํ พระดำรัสนั้น มิจฺฉา เป็นอันว่าผิดไป. ยทิ ถ้าหากว่า ตถาคโต พระตถาคต ทสฺเสสิ ทรงแสดงแล้ว วตฺถคุยฺหํ ซึ่งพระวัตถคุยหะ โกโสหิตํ อันซ่อนอยู่ในฝัก พฺราหฺมณสฺส แก่พราหมณ์ เสลสส ชื่อว่า เสละ เตน หิ ถ้าอย่างนั้น ตมฺปิ วจนํ แม้คำนั้น อิติ ว่า วจนํ พระดำรัส อิติ ว่า สํวโร ความสำรวม กาเยน ทางกาย สาธุ เป็นเหตุทำประโยชน์ให้สำเร็จ ดังนี้ มิจฺฉา เป็นอันว่าผิดไป[๓].

 

อยมฺปิ อุภโต โกฏิโก ปญฺโห ตวานุปฺปตฺโต, โส ตยา นิพฺพาหิตพฺโพ’’ติฯ

อยมฺปิ ปญฺโห ปัญหาแม้นี้ โกฏิโก มีที่สุด อุภโต โดยส่วนสอง อนุปฺปตฺโต มาถึงแล้ว ตว แก่ท่าน, โส ปญฺโห ปัญหานั้น ตยา อันท่าน นิพฺพาหิตพฺโพ = กเถตพฺโพ พึงแถลงเถิด ดังนี้.

 

‘‘ภาสิตมฺเปตํ, มหาราช, ภควตา กาเยน สํวโร สาธูติ, เสลสฺส จ พฺราหฺมณสฺส โกโสหิตํ วตฺถคุยฺหํ ทสฺสิตํฯ ยสฺส โข, มหาราช, ตถาคเต กงฺขา อุปฺปนฺนา, ตสฺส โพธนตฺถาย ภควา อิทฺธิยา ตปฺปฏิภาคํ กายํ ทสฺเสติ, โส เยว ตํ ปาฏิหาริยํ ปสฺสตี’’ติฯ

นาคเสนตฺเถโร พระนาคเสนเถระ อาห ทูลถวายวิสัชนา อิติ ว่า มหาราช มหาบพิตร เอตํ วจนํ พระดำรัสนี้ อิติ ว่า สํวโร ความสำรวม กาเยน ทางกาย สาธุ เป็นเหตุทำประโยชน์ให้สำเร็จ ดังนี้ ภควตา แม้อันพระผู้มีพระภาค ภาสิตมฺปิ ตรัสแล้ว, และ วตฺถคุยฺหํ พระวัตถคุยหะ โกโสหิตํ อันซ่อนอยู่ในฝัก ตถาคเตน อันพระตถาคต ทสฺสิตํ ทรงแสดงแล้ว พฺราหฺมณสฺส แก่พราหมณ์ เสลสส ชื่อว่า เสละ (จริง), มหาราช มหาบพิตร กงฺขา ความสงสัย ตถาคเต ในพระตถาคต ยสฺส แห่งบุคคลใด อุปฺปนฺนา เกิดขึ้นแล้ว โข แล, ภควา พระผู้มีพระภาค ทสฺเสติ จะทรงแสดง กายํ ซึ่งพระกาย ตปฺปฏิภาคํ อันมีส่วนเปรียบได้กับพระกายจริง อิทฺธิยา ด้วยพระฤทธิ์[๔] โพธนตฺถาย เพื่อประโยชน์แห่งการรู้  ตสฺส แห่งบุคคลนั้น, โสเยว บุคคลนั้นนั่นเทียว ปสฺสติ ย่อมเห็น ปาฏิหาริยํ ซึ่งปาฏิหารย์ ตํ นั้น ดังนี้.

 

‘‘โก ปเนตํ, ภนฺเต นาคเสน, สทฺทหิสฺสติ, ยํ ปริสคโต เอโก เยว ตํ คุยฺหํ ปสฺสติ, อวเสสา ตตฺเถว วสนฺตา น ปสฺสนฺตีติฯ อิงฺฆ เม ตฺวํ ตตฺถ การณํ อุปทิส, การเณน มํ สญฺญาเปหี’’ติฯ

มิลินฺโท ราชา พระเจ้ามิลินท์ อาห ตรัสแล้ว อิติ ว่า ภนฺเต นาคเสน ข้าแต่พระนาคเสนผู้เจริญ  ปน ก็  ปุคฺคโล บุคคล โก ใด สทฺทหิสฺสติ จักเชื่อ เอตํ การณํ ซึ่งเรื่องนั้น, ยํ เพราะ[๕] เอโกเยว ปุคฺคโล บุคคลเดียวเท่านั้น ปริสคโต ผู้อยู่ในบริษัท ปสฺสติ ย่อมเห็น ตํ คุยฺหํ ซึ่งพระคุยหะนั้น, อวเสสา ปุคฺคลา บุคคลทั้งหลายที่เหลือ วสนฺตา ซึ่งอยู่ ตตฺเถว ในสถานที่นั้นเหมือนกัน ปสฺสนฺติ กลับไม่เห็น อิติ เพราะเหตุนั้น อิงฺฆ ขอเชิญ ตฺวํ พระคุณเจ้า อุปทิส จงชี้แนะ การณํ ซึ่งเหตุ ตตฺถ ในเรื่องนั้น เม แก่ข้าพเจ้า, ตฺวํ ขอพระคุณเจ้า มํ ยังข้าพเจ้า สญฺญาเปหิ จงให้เข้าใจ การเณน โดยเหตุผล ดังนี้.

 

‘‘ทิฏฺฐปุพฺโพ ปน ตยา, มหาราช, โกจิ พฺยาธิโต ปุริโส ปริกิณฺโณ ญาติมิตฺเตหี’’ติฯ

นาคเสนตฺเถโร พระนาคเสนเถระ อาห ทูลถวายแล้ว อิติ ว่า มหาราช มหาบพิตร ปน ก็ โกจิ ปุริโส บุุรุษบางคน พฺยาธิโต ผู้เจ็บป่วย ปริกิณฺโณ ผู้พรักพร้อม ญาติมิตฺเตหิ ด้วยญาติและมิตรทั้งหลาย ตยา อันมหาบพิตร ทิฏฺฐปุพฺโพ ทรงเคยทอดพระเนตรแล้วในกาลก่อน หรือไม่ ดังนี้

 

‘‘อาม ภนฺเต’’ติฯ

มิลินฺโท ราชา พระเจ้ามิลินท์ อาห ตรัสแล้ว อิติ ว่า ภนฺเต ข้าแต่ท่านผู้เจริญ อาม ใช่ โส บุคคลนั้น มยา อันเรา ทิฏฺฐปุพฺโพ เคยเห็นแล้วในกาลก่อน ดังนี้.

 

‘‘อปิ นุ โข สา, มหาราช, ปริสา ปสฺสเตตํ เวทนํ, ยาย โส ปุริโส เวทนาย เวทยตี’’ติฯ

นาคเสนตฺเถโร พระนาคเสนเถระ อาห ทูลถามแล้ว อิติ ว่า มหาราช มหาบพิตร ปริสา บริษัท สา นั้น, โส ปุริโส บุรุษนั้น เวทยติ ได้รับรู้สึกไม่สบายกาย เวทนาย โดยเวทนาใด, ปสฺสติ ย่อมเห็น เอตํ เวทนํ ซึ่งเวทนานั้น อปิ นุ โข บ้างหรือไม่ ดังนี้.

 

‘‘น หิ ภนฺเต, อตฺตนา เยว โส, ภนฺเต, ปุริโส เวทยตี’’ติฯ

มิลินฺโท ราชา พระเจ้ามิลินท์ อาห ตรัสแล้ว อิติ ว่า ภนฺเต ข้าแต่ท่านผู้เจริญ ปริสา บริษัท สา นั้น น ปสฺสติ ย่อมไม่เห็น เอตํ เวทนํ ซึ่งเวทนานั้น, ภนฺเต ข้าแต่ท่านผู้เจริญ โส ปุริโส เฉพาะบุรุษนั้น เวทยติ ย่อมรู้สึก อตฺตนาเยว  ด้วยตนเองเท่านั้น ดังนี้.

 

‘‘เอวเมว โข, มหาราช, ยสฺเสว ตถาคเต กงฺขา อุปฺปนฺนา, ตสฺเสว ตถาคโต โพธนตฺถาย อิทฺธิยา ตปฺปฏิภาคํ กายํ ทสฺเสติ, โส เยว ตํ ปาฏิหาริยํ ปสฺสติฯ

นาคเสนตฺเถโร พระนาคเสนเถระ อาห ทูลแล้ว อิติ ว่า มหาราช มหาบพิตร กงฺขา ความสงสัย ตถาคเต ในพระตถาคต ยสฺส แห่งบุคคลใด อุปฺปนฺนา เกิดขึ้นแล้ว โข แล, ภควา พระผู้มีพระภาค ทสฺเสติ จะทรงแสดง กายํ ซึ่งพระกาย ตปฺปฏิภาคํ อันมีส่วนเปรียบได้กับพระกายจริง อิทฺธิยา ด้วยพระฤทธิ์ โพธนตฺถาย เพื่อประโยชน์แห่งการรู้  ตสฺส แห่งบุคคลนั้น, โสเยว บุคคลนั้นนั่นเทียว ปสฺสติ ย่อมเห็น ปาฏิหาริยํ ซึ่งปาฏิหาริย์ ตํ นั้น เอวเมว อย่างนั้นนั่นเทียว ดังนี้.

 

‘‘ยถา วา ปน, มหาราช, กญฺจิเทว ปุริสํ ภูโต อาวิเสยฺย, อปิ นุ โข สา, มหาราช, ปริสา ปสฺสติ ตํ ภูตาคมน’’นฺติ?

นาคเสนตฺเถโร พระนาคเสนเถระ อาห ทูลแล้ว อิติ ว่า มหาราช มหาบพิตร วา ปน ก็หรือว่า ยถา เปรียบเหมือนว่า ภูโต ภูต อาวิเสยฺย พึงเข้าสิง ปุริสํ ซึ่งบุรุษ กญฺจิเทว คนหนึ่งเท่านั้น, มหาราช มหาบพิตร, ปริสา บริษัท ปสฺสติ ย่อมเห็น ปุริสํ ซึ่งบุรุษนั้น ตํ ภูตาอาคมนํ การมาของภูต นั้น อปิ นุ โข บ้างหรือไม่ ดังนี้.

 

‘‘น หิ, ภนฺเต, โส เยว อาตุโร ตสฺส ภูตสฺส อาคมนํ ปสฺสตี’’ติฯ

มิลินฺโท ราชา พระเจ้ามิลินท์ อาห ตรัสแล้ว อิติ ว่า ภนฺเต ข้าแต่ท่านผู้เจริญ ปริสา บริษัท ปสฺสติ ย่อมเห็น ปุริสํ ซึ่งบุรุษนั้น ตํ ภูตาอาคมนํ การมาของภูต นั้น หามิได้, โสเยว บุรุษนั้นเท่านั้น อาตุโร ผู้ลำบากอยู่ ปสฺสติ ย่อมเห็น อาคมนํ ซึ่งการมา ตสฺส ภูตสฺส แห่งภูตนั้น ดังนี้.

 

‘‘เอวเมว โข, มหาราช, ยสฺเสว ตถาคเต กงฺขา อุปฺปนฺนา, ตสฺเสว ตถาคโต โพธนตฺถาย อิทฺธิยา ตปฺปฏิภาคํ กายํ ทสฺเสติ, โส เยว ตํ ปาฏิหาริยํ ปสฺสตี’’ติฯ

นาคเสนตฺเถโร พระนาคเสนเถระ อาห ทูลถามแล้ว อิติ ว่า มหาราช มหาบพิตร เอวเมว โข อุปมัย ก็มีอย่างนั้นนั่นเทียวแล กงฺขา ความสงสัย ตถาคเต ในพระตถาคต ยสฺส แห่งบุคคลใด อุปฺปนฺนา เกิดขึ้นแล้ว, ภควา พระผู้มีพระภาค ทสฺเสติ จะทรงแสดง กายํ ซึ่งพระกาย ตปฺปฏิภาคํ อันมีส่วนเปรียบกับพระกายจริง อิทฺธิยา ด้วยพระฤทธิ์ โพธนตฺถาย เพื่อประโยชน์แห่งการรู้  ตสฺส แห่งบุคคลนั้น, โสเยว เฉพาะบุคคลนั้น ปสฺสติ ย่อมเห็น ตํ ปาฏิหาริยํ ซึ่งปาฏิหารย์นั้น ดังนี้.

 

‘‘ทุกฺกรํ, ภนฺเต นาคเสน, ภควตา กตํ, ยํ เอกสฺสปิ อทสฺสนียํ, ตํ ทสฺเสนฺเตนา’’ติฯ

มิลินฺโท ราชา พระเจ้ามิลินท์ อาห ตรัสแล้ว อิติ ว่า ภนฺเต นาคเสน ข้าแต่พระนาคเสนผู้เจริญ,  ยํ วตฺถุ วัตถุใด อทสฺสนียํ อันไม่พึงแสดง เอกสฺสปิ แม้แก่คนเดียว, ทุกฺกรํ การกระทำอันบุคคลทำได้โดยยาก ภควตา อันพระผู้มีพระภาค ทสฺเสนฺเตน ผู้ทรงแสดง, วตฺถุํ ซึ่งวัตถุนั้น กตํ ทรงกระทำแล้ว ดังนี้.

 

‘‘, มหาราช, ภควา คุยฺหํ ทสฺเสสิ, อิทฺธิยา ปน ฉายํ ทสฺเสสี’’ติฯ

นาคเสนตฺเถโร พระนาคเสนเถระ อาห ทูลแล้ว อิติ ว่า มหาราช มหาบพิตร ภควา พระผู้มีพระภาค ทสฺเสสิ ทรงแสดงแล้ว คุยฺหํ ซึ่งพระคุยหะ หามิได้, ปน แต่ว่า ทสฺเสสิ ทรงแสดงแล้ว ฉายํ ซึ่งพระฉายา[๖] อิทฺธิยา ด้วยพระฤทธิ์ ดังนี้.

 

‘‘ฉายายปิ, ภนฺเต, ทิฏฺฐาย ทิฏฺฐํ เยว โหติ คุยฺหํ, ยํ ทิสฺวา นิฏฺฐํ คโต’’ติฯ

มิลินฺโท ราชา พระเจ้ามิลินท์ อาห ตรัสแล้ว อิติ ว่า ภนฺเต ข้าแต่ท่านผู้เจริญ, ฉายายปิ แม้เมื่อพระฉายา ทิฏฺฐาย อันใครๆเห็นแล้ว, คุยฺหํ พระคุยหะ ทิฏฺฐํเยว โหติ ย่อมเป็นอันเขาเห็นแล้วเหมือนกัน, ยํ เพราะว่า โส ปุคคโล บุคคลนั้น ทิสฺวา ครั้นเห็นแล้ว คโต เป็นอันถึงแล้ว นิฏฺฐํ ซึ่งการตัดสินใจ (คือ เชื่อเลย) ดังนี้.

 

‘‘ทุกฺกรญฺจาปิ, มหาราช, ตถาคโต กโรติ โพธเนยฺเย สตฺเต โพเธตุํฯ

นาคเสนตฺเถโร พระนาคเสนเถระ อาห ทูลแล้ว อิติ ว่า มหาราช มหาบพิตร ก็ อปิ แม้ ตถาคโต พระตถาคน กโรติ ทรงกระทำ ทุกฺกรํ ซึ่งกรรมอันบุคคลทำได้โดยยาก โพเธตุํ เพื่อ - สตฺเต ยังสัตว์ทั้งหลาย โพธเนยฺย อันพระองค์พึงให้รู้ได้ - ให้รู้.

 

  ยทิ, มหาราช, ตถาคโต กิริยํ หาเปยฺย, โพธเนยฺยา สตฺตา น พุชฺเฌยฺยุํฯ ยสฺมา จ โข, มหาราช, โยคญฺญู ตถาคโต โพธเนยฺเย สตฺเต โพเธตุํ, ตสฺมา ตถาคโต เยน เยน โยเคน โพธเนยฺยา พุชฺฌนฺติ, เตน เตน โยเคน โพธเนยฺเย โพเธติฯ

มหาราช มหาบพิตร ยทิ ถ้าว่า ตถาคโต พระตถาคต หาเปยฺย พึงละเสีย กิริยํ ซึ่งการกระทำ, สตฺตา สัตว์ทั้ืงหลาย โพธเนยฺยา อันพึงให้รู้ได้ น พุชฺเฌยฺยุํ ไม่สามารถจะรู้. มหาราช มหาบพิตร จ โข ก็แล ตถาคโต พระตถาคต โยคญฺญู ทรงเป็นผู้รู้จักวิธีการ โพเธตุํ เพื่อ - สตฺเต ยังสัตว์ทั้งหลาย โพเธเนยฺเย อันพึงให้รู้ได้ - ให้ได้รู้ ยสฺมา เหตุใด, ตสฺมา เพราะเหตุนั้น ตถาคโต พระตถาคต, โพธเนยฺยา สตฺตา สัตว์ทั้ืงหลาย ผู้อันจะพึงให้รู้ได้ พุชฺฌนฺติ ย่อมรู้ เยน เยน โยเคน ด้วยวิธีการใดๆ, โพธเนยฺเย ทรงยังสัตว์ผู้พึงให้รู้ได้ โพเธติ ย่อมให้รู้ เตน เตน โยเคน ด้วยวิธีการนั้นๆ.

‘‘ยถา, มหาราช, ภิสกฺโก สลฺลกตฺโต เยน เยน เภสชฺเชน อาตุโร อโรโค โหติ, เตน เตน เภสชฺเชน อาตุรํ อุปสงฺกมติ, วมนียํ วเมติ, วิเรจนียํ วิเรเจติ, อนุเลปนียํ อนุลิมฺเปติ, อนุวาสนียํ อนุวาเสติฯ เอวเมว โข, มหาราช, ตถาคโต เยน เยน โยเคน โพธเนยฺยา สตฺตา พุชฺฌนฺติ, เตน เตน โยเคน โพเธติฯ

มหาราช มหาบพิตร, ยถา เปรียบเหมือนว่า ภิสกฺโก นายแพทย์ สลฺลกตฺโต ผู้กระทำซึ่งการผ่าตัด, อาตุโร คนป่วย อโรโค จะเป็นผู้หายจากโรค โหติ ย่อมมี เยน เยน เภสชฺเชน ด้วยยาใดๆ, อุปสงฺกมติ  เข้าไปหา อาตุรํ ซึ่งคนป่วย เตน เตน เภสชฺเชน ด้วยยานั้นๆ, วมนียํ ทรงยังบุคคลผู้พึงให้อาเจียน วเมติ ย่อมให้อาเจียน, วิเรจนียํ ทรงยังบุคคลผู้พึงให้ถ่าย วิเรเจติ ย่อมให้ถ่าย, อนุลิมฺเปติ ย่อมทา อนุลิมฺปนียํ ซึ่งอวัยวะอันควรทา, อนุวาเสติ ย่อมผ่าตัด อนุวาสนียํ อวัยวะอันควรผ่าตัด[๗] ยถา ฉันใด, มหาราช มหาบพิตร โพธเนยฺยา สตฺตา สัตว์ทั้ืงหลาย ผู้อันจะพึงให้รู้ได้ พุชฺฌนฺติ ย่อมรู้ เยน เยน โยเคน ด้วยวิธีการใดๆ, ตถาคโต  พระตถาคต โพธเนยฺเย ก็ทรงยังสัตว์ผู้พึงให้รู้ได้ โพเธติ ย่อมให้รู้ เตน เตน โยเคน ด้วยวิธีการนั้นๆ เอวเมว ฉันนั้นนั่นเทียว โข แล .

 

‘‘ยถา วา ปน, มหาราช, อิตฺถี มูฬฺหคพฺภา ภิสกฺกสฺส อทสฺสนียํ คุยฺหํ ทสฺเสติ, เอวเมว โข, มหาราช, ตถาคโต โพธเนยฺเย สตฺเต โพเธตุํ อทสฺสนียํ คุยฺหํ อิทฺธิยา ฉายํ ทสฺเสสิฯ

มหาราช มหาบพิตร วา ปน ก็หรือว่า ยถา เปรียบเหมือนว่า อิตฺถี หญิง มูฬฺหคพฺภา มีครรภ์อันหลง (คือ ผิดปกติ) ทสฺเสติ ย่อมแสดง คุยฺหํ ซึ่งของลับ อทสฺสนียํ ที่ไม่พึงแสดง ภิสกฺกสฺส แก่หมอ ฉันใด, ตถาคโต พระตถาคต ทสฺเสสิ ทรงแสดงแล้ว คุยฺหํ ซึ่งพระคุยหะ อทสฺสนียํ อันไม่ควรแสดง ฉายํ ที่เป็นเพียงพระฉายา อิทฺธิยา ด้วยพระฤทธิ์ โพเธตุํ เพื่อ - สตฺเต ทรงยังสัตว์ทั้งหลาย โพธเนยฺเย ผู้พึงให้รู้ - ให้รู้ เอวเมว ฉันนั้นนั่นเทียว โข แล

 

นตฺถิ, มหาราช, อทสฺสนีโย นาม โอกาโส ปุคฺคลํ อุปาทายฯ ยทิ, มหาราช, โกจิ ภควโต หทยํ ทิสฺวา พุชฺเฌยฺย, ตสฺสปิ ภควา โยเคน หทยํ ทสฺเสยฺย, โยคญฺญู, มหาราช, ตถาคโต เทสนากุสโลฯ

มหาราช มหาบพิตร อุปาทาย เพราะเข้าไปอาศัย ปุคฺคลํ ซึ่งบุคคล โอกาโส โอกาส อทสฺสนีโย นาม จะได้ชื่อว่า ไม่พึงแสดง นตฺถิ ย่อมไม่มี. มหาราช มหาบพิตร ยทิ ถ้าว่า โกจิ บางคน ทิสฺวา เห็นแล้ว หทยํ ซึ่งพระหทัย ภควโต ของพระผู้มีพระภาค พุชฺเฌยฺย พึงรู้ได้ไซร้, ภควา พระผู้มีพระภาค ทสฺเสยฺย พึงแสดง หทยํ ซึ่งพระหทัย ตสฺสปิ แม้แก่คนนั้น โยเคน ด้วยวิธีการ (ที่จะให้รู้ได้), มหาราช มหาบพิตร ตถาคโต โยคญฺญู ทรงเป็นผู้รู้วิธีการ เทสนากุสโล ทรงเป็นผู้ฉลาดในเทศนา.

 

‘‘นนุ, มหาราช, ตถาคโต เถรสฺส นนฺทสฺส อธิมุตฺติํ ชานิตฺวา ตํ เทวภวนํ เนตฺวา เทวกญฺญาโย ทสฺเสสิ อิมินายํ กุลปุตฺโต พุชฺฌิสฺสตีติ, เตน จ โส กุลปุตฺโต พุชฺฌิฯ

มหาราช มหาบพิตร ตถาคโต พระตถาคต ชานิตฺวา ทรงทราบแล้ว อธิมุตฺติํ ซึ่งอธิมุตติ (ความน้อมไปในธรรมซึ่งเป็นพื้นเพหรืออัชฌาสัยของแต่ละบุคคล) เถรสฺส นนฺทสฺส ของพระนันทเถระ นนุ มิใช่หรือ เนตฺวา จึงทรงนำ ตํ พระเถระนั้น เทวภวนํ ไปสู่เทวภพ ทสฺเสสิ ทรงแสดงแล้ว เทวกญฺญาโย ซึ่งนางเทพกัญญา จินฺตเนน ด้วยทรงดำริว่า อยํ กุลปุตฺโต กุลบุตรนี้ พุชฺฌิสฺสติ จักรู้ อิมินา โยคเน ด้วยวิธีนี้ ดังนี้ นนุ มิใช่หรือ[๘]. ก็ โส กุลปุตฺโต กุลบุตรนั้น พุชฺฌิ จึงตรัสรู้ เตน โยเคน ด้วยวิธีนั้น.

 

อิติ โข, มหาราช, ตถาคโต อเนกปริยาเยน สุภนิมิตฺตํ หีเฬนฺโต ครหนฺโต ชิคุจฺฉนฺโต ตสฺส โพธนเหตุ กกุฏปาทินิโย อจฺฉราโย ทสฺเสสิฯ เอวมฺปิ ตถาคโต โยคญฺญู เทสนากุสโลฯ

มหาราช มหาบพิตร ตถาคโต พระตถาคต หีเฬนฺโต ทรงติเตียนอยู่ ครหนฺโต ทรงตำหนิอยู่ ชิคุจฺฌนฺโต ทรงรังเกียจอยู่ สุภนิมิตฺตํ ซึ่งสุภนิมิต [๙]อเนกปริยาเยน โดยปริยายเป็นอันมาก[๑๐] ทสฺเสสิ ทรงแสดงแล้ว อจฺฉราโย ซึ่งนางฟ้าทั้งหลาย กกุฏปาทินิโย[๑๑] ผู้มีเท้าดุจดังเท้าแห่งไก่ ตสฺส โพธนเหตุ เพราะแห่งการยังพระเถระนั้นให้ตรัสรู้ อิติ โข ด้วยประการฉะนี้แล, ตถาคโต พระตถาคต โยคญฺญู ทรงเป็นผู้รอบรู้วิธีการ เทสนากุสโล ทรงเป็นผู้ฉลาดในเทศนา เอวมฺปิ แม้อย่างนี้.

 

‘‘ปุน จปรํ, มหาราช, ตถาคโต เถรสฺส จูฬปนฺถกสฺส ภาตรา นิกฺกฑฺฒิตสฺส ทุกฺขิตสฺส ทุมฺมนสฺส อุปคนฺตฺวา สุขุมํ โจฬขณฺฑํ อทาสิ อิมินายํ กุลปุตฺโต พุชฺฌิสฺสตีติ, โส จ กุลปุตฺโต เตน การเณน ชินสาสเน วสีภาวํ ปาปุณิฯ เอวมฺปิ, มหาราช, ตถาคโต โยคญฺญู เทสนากุสโลฯ

มหาราช มหาบพิตร ก็ อปรํ วตฺถุ เรื่องอื่น อตฺถิ ยังมี ปุน อีก[๑๒], เถรสฺส จูฬปนฺถกสฺส เมื่อพระจูฬปันถกเถระ[๑๓] ภาตรา อันพระพี่ชาย นิกฺกฑฺฏิตสฺส ฉุดออกไปแล้ว  ทุกฺขิตสฺส ถึงความทุกข์ ทุมฺมนสฺส มีความเสียใจ, ตถาคโต พระตถาคต อุปสงฺกมิตฺวา เสด็จเข้าไปหาแล้ว อทาสิ ได้ทรงมอบแล้ว โจฬขณฺฑํ ซึ่งท่อนผ้า สุขุมํ เนื้อละเอียด จินฺตเนน ด้วยทรงพระดำริ อิติ ว่า อยํ กุลปุตฺโต กุลบุตรนี้ พุชฺฌิสฺสติ จักรู้ อิมินา โยเคน ด้วยวิธีการนี้ ดังนี้, ก็ โส กุลปุตฺโต กุลบุตรนั้น ปาปุณิ ถึงแล้ว วสีภาวํ ซึ่งวสีภาวะ ชินสาสเน ในศาสนาของพระชินพุทธเจ้า เตน การเณน ด้วยวิธีการนั้น. มหาราช มหาบพิตร ตถาคโต พระตถาคต โยคญฺญู ทรงเป็นผู้รอบรู้วิธีการ เทสนากุสโล ทรงเป็นผู้ฉลาดในเทศนา เอวมฺปิ แม้อย่างนี้.

 

‘‘ปุน จปรํ, มหาราช, ตถาคโต พฺราหฺมณสฺส โมฆราชสฺส ยาว ตติยํ ปญฺหํ ปุฏฺโฐ น พฺยากาสิ เอวมิมสฺส กุลปุตฺตสฺส มาโน อุปสมิสฺสติ, มานูปสมา อภิสมโย ภวิสฺสตีติ, เตน จ ตสฺส กุลปุตฺตสฺส มาโน อุปสมิ, มานูปสมา โส พฺราหฺมโณ ฉสุ อภิญฺญาสุ วสีภาวํ ปาปุณิฯ เอวมฺปิ, มหาราช, ตถาคโต โยคญฺญู เทสนากุสโล’’ติฯ

มหาราช มหาบพิตร ก็ อปรํ วตฺถุ เรื่องอื่น อตฺถิ ยังมี ปุน อีก ตถาคโต พระตถาคต พฺราหฺมณสฺส โมฆราชสฺส ปุฏฺโฐ ผู้อันพราหมณ์โมฆราช ทูลถามแล้ว ปญฺหํ ซึ่งปัญหา ยาว ถึง ตติยํ ครั้งที่ ๓ น พฺยากาสิ ยังไม่ทรงเฉลย จินฺตเนน ด้วยทรงพระดำริ อิติ ว่า มาโน มานะ อิมสฺส กุลปุตฺตสฺส ของกุลบุตรนี้ อุปสมิสฺสติ จักสงบลง เอวํ ด้วยวิธีการอย่างนี้, อภิสมโย การตรัสรู้ ภวิสฺสติ จักมี มานูปสมา เพราะการสงบลงแห่งมานะ ดังนี้, ก็ มาโน มานะ ตสฺส กุลปุตฺตสฺส แห่งกุลบุตรนั้น อุปสมิ สงบลงแล้ว เตน โยเคน ด้วยวิธีการอย่างนี้, โส พฺราหฺมโณ พราหมณ์โมฆราชนั้น ปาปุณิ บรรลุถึงแล้ว วสีภาวํ ซึ่งวสีภาวะ ฉสุ อภิญฺญาสุ ในอภิญญาทั้งหลาย ๖ มานูปสมา เพราะมานะสงบลง. มหาราช มหาบพิตร ตถาคโต พระตถาคต โยคญฺญู ทรงเป็นผู้รอบรู้วิธีการ เทสนากุสโล ทรงเป็นผู้ฉลาดในเทศนา เอวมฺปิ แม้ด้วยอาการอย่างนี้ ดังนี้

 

  ‘‘สาธุ, ภนฺเต นาคเสน, สุนิพฺเพฐิโต ปญฺโห พหุวิเธหิ การเณหิ, คหนํ อคหนํ กตํ, อนฺธกาโร อาโลโก กโต, คณฺฐิ ภินฺโน, ภคฺคา ปรวาทา, ชินปุตฺตานํ จกฺขุํ ตยา อุปฺปาทิตํ, นิปฺปฏิภานา ติตฺถิยา, ตฺวํ คณิวรปวรมาสชฺชา’’ติฯ

มิลินฺโท ราชา พระเจ้ามิลินท์ อาห ตรัสแล้ว อิติ ว่า ภนฺเต นาคเสน ข้าแต่พระนาคเสนผู้เจริญ สาธุ ดีจริง, ปญฺโห ปัญหา ตยา อันท่าน สุนิพฺเพฐิโต แก้ไขดีแล้ว การเณหิ ด้วยเหตุผล พหุวิเธหิ มีประการอันมาก, คหนํ รกชัฏ ตยา อันท่าน กตํ กระทำแล้ว อคหนํ ให้ไม่เป็นรกชัฏ, อนฺธกาโร ความมืด ตยา อันท่าน กตํ กระทำแล้ว อาโลโก ให้เป็นแสงสว่าง, คณฺฐิ เงื่อนปม ตยา อันท่าน ภินฺโน ทำลายได้แล้ว, จกฺขุํ จักษุ ชินปุตฺตานํ ของภิกษุผู้เป็นบุตรของพระชินพุทธเจ้า ตยา อันท่าน อุปฺปาทิตํ ให้เกิดขึ้นแล้ว, ปรวาทา ปรัปวาทะ ตยา อันท่าน ภคฺคา หักทำลายแล้ว, ติตฺถิยา พวกเดียรถีย์ อาสชฺช ถึงแล้ว ตฺวํ ซึ่งท่าน คณิวรปวรํ ผู้ประเสริฐกว่าเจ้าคณะอันประเสริฐ นิปฺปฏิภานา เป็นผู้ไม่มีปฏิภาณ (ภเวยฺยุํ) พึงเป็น ดังนี้[๑๔].

 

๓. วตฺถคุยฺหนิทสฺสนปญฺโห

วตฺถคุยฺหนิทสฺสนปญฺโห ตติโยฯ

วตฺถคุยฺหนิทสฺสนปญฺโห

วัตถคุยหนิทัสสนปัญหา

ตติโย ลำดับที่ ๓  นิฏฺฐิโต จบ

 

.....

 

 



[๑] การสำรวมทางกาย วาจา และใจนี้ คัมภีร์ธัมมปทัฏฐกถา อธิบายว่า ได้แก่ การที่งดเว้นจากกายทุจริต มีปาณาติบาตเป็นต้น วจีทุจริต มีมุสาวาทเป็นต้น และมโนทุจริต มีอภิชฌาเป็นต้น ที่เกิดขึ้นเพราะอาศัยกายทวารเป็นต้น. แต่ในที่นี้ พระเจ้ามิลินท์เพ่งไปถึงการไม่สำรวมกาย คือ ประพฤติอนาจาร เพราะแสดงพระวัตถคุยหะแก่พราหมณ์เสละในท่ามกลางบริษัท.

[๒] โกโสหิตํ วตฺถคุยฺหํ หมายถึง องคชาต. มีวิเคราะห์ว่า วตฺถคยฺหนฺติ วตฺเถน คุหิตพฺพํ องฺคชาตํ วุจฺจติ (ที.อฏฺ.ม.๒-๓๘) องคชาตที่ควรปิดซ่อนไว้ด้วยผ้า เรียกว่า วัตถคุยหะ. วตฺเถน คุหิตพฺพตฺตา วตฺถคุยฺหํ. (สี.ฏี.๒/๒๗๖) องคชาต เรียกว่า วัตถคุยหะ เพราะเป็นอวัยวะที่ควรปิดซ่อนไว้ด้วยผ้า. ส่วน โกโสหิต อันเร้นในฝัก เป็นคำวิเศษณ์ที่มาคู่กับคำนี้ บางแห่งเข้าสมาสกันเป็น โกโสหิตวตฺถคุยฺห (ที.ปา.๑๑/๑๓๐ฯลฯ) มีอธิบายว่า วตฺถิโกเสน ปฏิจฺฉนฺเน อันหนังหุ้มปลายปกปิดไว้ (ที.สี.อ.๑/๒๔๖). โกส ศัพท์มีอรรถว่า ฝัก (ตามตัว) แต่ในที่นี้ความหมายเท่ากับ หนังหุ้ม อวัยวะสืบพันธุ์ชาย (หนังหุ้มปลาย). วตฺถิ ศัพท์ตามตัว คือ กะเพาะปัสสาวะ อภิธาน.อธิบายว่า ส่วนที่อยู่ใต้สะดือลงไป. แต่ในที่นี้มีความหมายว่า อวัยเพศชาย (พจน.ภูมิพโล). ดังนั้น แปลตามที่ประสงค์คือ องคชาตที่มีหนังหุ้มไว้สนิท.

[๓] พระเจ้ามิลินท์ตั้งข้อสังเกตว่า ถ้าหากพระผู้มีพระภาคตรัสสรรเสริญความสำรวมทางกายว่า เป็นเหตุทำประโยชน์ให้สำเร็จ จริงไซร้ คำว่า ทรงแสดงพระวัตถุคุยหะแก่เสลพราหมณ์ ก็ย่อมเป็นคำพูดที่ไม่จริง เพราะเป็นการกระทำที่นับว่า เป็นความไม่สำรวมทางกายเป็นอย่างยิ่ง แม้ในทางกลับกันก็อย่างนี้ รวมความว่า หากยอมรับคำหนึ่งว่า ถูกต้อง อีกคำหนึ่งซึ่งมีเนื้อความขัดแย้งกัน ก็ย่อมไม่ถูกต้อง.

[๔] หมายถึง ทรงใช้พระอธิฏฐานอิทธิ สร้างพระกายอื่น ที่เป็นพระกายเนรมิต มีส่วนเหมือนพระกายจริงทุกอย่าง เว้นไว้แต่ในกายเนรมิตนั้น เปิดเผยพระวัตถุคุยหะอันซ่อนอยู่ในฝัก ให้ปรากฏแก่สายตาพราหมณ์เท่านั้น.

[๕] คัมภีร์สารัตถทีปนี วินยฏีกา อธิบายว่า ยํ ตฺวนฺติ เอตฺถ นฺติ เหตุอตฺเถ นิปาโต, กรณตฺเถ วา ปจฺจตฺตวจนํ. ยํ เป็นนิบาตในอรรถเหตุ อีกนัยหนึ่ง เป็นปฐมาวิภัตติลงในอรรถตติยาวิภัตติ ดังนั้น ในที่นี้จึงแปลเป็นนิบาตในอรรถเหตุ. (สารตฺถ ๒/๓๘).

[๖] คำว่า ฉายา หมายถึง กายเนรมิต นั้น..

[๗] หมายถึง การผ่าตัดที่ปัสสาวมรรค (ทวารเบา) มีอธิบายในมิลินทฏีกาที่อ้างคัมภีร์อายุรเพท ซึ่งกล่าวถึงวัตถิกรรม คือ การผ่าตัดในที่แคบ สองวิธี คือ นิรุหะ และ อนุวาสนะ. บรรดาวัตถิกรรม ๒ นิรุหะ คือ การผ่าตัดที่วัจจมรรค (ทวารหนัก) ส่วนล่าง, อนุวาสนะ คือ การผ่าตัดที่ปัสสาวมรรค (ทวารเบา) ในส่วนปลาย. อนึ่ง วิธีการรักษาโรคที่มีมาในคัมภีร์อายุรเวทนั้น มี ๕ คือ วมนํ (ให้อาเจียน) เรจนํ (ขับถ่าย) นาสฺยํ (การพอกยา) นิรุหํ และ อนุวาสนํ. วิธีการรักษาโรคที่แสดงไว้ในที่นี้ อาจนำมาจากที่แสดงไว้ในคัมภีร์อายุรเพทนั้นก็เป็นได้. 

[๘] ขุ.อุ. มหาจุฬาเตปิฏก. ๒๕/๒๒/๑๒๐

[๙] ธรรมที่เป็นเหตุแห่งความยึดเอาว่างาม กล่าวคือ ของสวยงาม.

[๑๐] ปการ ศัพท์มีความหมาย ๖ คือ การณ เหตุ เทสนา ธรรมเทศนา วาร วาระครั้งคราว เววจน คำไวพจน์ ปการ ประเภท อวสร โอกาส (อรรถกถาปาราชิกกัณฑ์). ในที่นี้มีความหมายว่า ปการ. อเนกปริยาย ความหมายเท่ากับ หลายประการ.

[๑๑] ฉบับไทยเป็น กปฺปิตมณิสุวณฺณปาราวตกโปตปาทินิโย อจฺฉราโย นางฟ้าที่ทรงเนรมิตขึ้น ซึ่งมีเท้างามดุจเท้านกพิราบประดับด้วยสายสร้อยเงินทอง.

[๑๒] ปุน จปรํ ตัดบทเป็น ปุน จ อปรํ. อปรํ เป็นคุณศัพท์ ที่หมายถึง เรื่องที่จะต้องกล่าวเพิ่มเติมจากนี้ ดังนั้น อาจเพิ่มศัพท์ต่างๆเข้ามาให้สอดคล้องกับเนื้อเรื่องตามที่ประสงค์ มีความหมายว่าข้าพเจ้าจะกล่าวถึงบุคคลอื่นเพิ่มเติมจากที่ได้กล่าวมาแล้ว, โปรดสดับเถิด. มีตัวอย่างการใช้จากคัมภีร์อรรถกถา ฏีกา ดังนี้. ปุน จปรนฺติ ปุน จ อปรํ การณํ (ปฏิสมฺ.อฏฺ.ยุคนทฺธ.๑) เหตุอื่นจากนี้. ปุน จปรนฺติ ปุน จ อปรํ ธมฺมชาตํ (อุทาน.อฏฺ.เมฆิยสุตฺต.๓๑) ธรรมชาติอื่นจากนี้. ปุน จปรนฺติ ปุน จ อปรํ, ยถาวุตฺตอานาปานกมฺมฏฺฐานโต ภิยฺโยปิ อญฺญํ กายานุปสฺสนากมฺมฏฺฐานํ กเถมิ, สุณาถาติ วา อธิปฺปาโย (มหาวคฺค.ที.ฏี. มหาสติปัฏฐาน ๓๗๕, ม.มู.ฏี. ๑๐๘) ข้าพเจ้าจะแสดงกายานุปัสสนากัมมัฏฐานหมวดอื่นเพิ่มจากอานาปานัสสติกัมมัฏฐานที่ได้กล่าวไปแล้ว, ท่านทั้งหลายจงรับฟังเถิด.

[๑๓] ขุ.อุ. มหาจุฬาเตปิฏก. ๓๒/๓๕/๘๑-

[๑๔] อาสชฺช มาจาก อา + สท  + ตฺวา สัมพันธ์เป็นปุพพกาลกิริยาใน ภเวยฺยุํ หรือ เป็นเหตุ ในภเวยฺยุํ มีคำแปลประกอบความว่า ติตฺถิยา ตฺวํ คณิวรปวรํ (คณิวเรหิ ปวรํ เสฏฺฐํ) อาสชฺช (ปตฺวา)นิปฺปฏิภาณา ภเวยฺยุํ. (โดยนัยแห่งมิ.ฏี.กตาธิการสผลปัญหา ที่ ๑อิทธิพลวรรค เมณฑกปัญหา)ฯ