วันเสาร์ที่ 10 กันยายน พ.ศ. 2559

มิลินทปัญหา แปล : อนุมานวรรคที่ ๔ : อนุมานปัญหาที่ ๑ [1]

๔. อนุมานวคฺโค[1]
๑. อนุมานปญฺโห 
อนุมานวรรคที่ ๔ : อนุมานปัญหาที่ ๑ 
. อถ โข มิลินฺโท ราชา เยนายสฺมา นาคเสโน เตนุปสงฺกมิ, อุปสงฺกมิตฺวา อายสฺมนฺตํ นาคเสนํ อภิวาเทตฺวา เอกมนฺตํ นิสีทิ, เอกมนฺตํ นิสินฺโน โข มิลินฺโท ราชา ญาตุกาโม โสตุกาโม ธาเรตุกาโม ญาณาโลกํ ทฏฺฐุกาโม อญฺญาณํ ภินฺทิตุกาโม ญาณาโลกํ อุปฺปาเทตุกาโม อวิชฺชนฺธการํ นาเสตุกาโม อธิมตฺตํ ธิติญฺจ อุสฺสาหญฺจ สติญฺจ สมฺปชญฺญญฺจ อุปฏฺฐเปตฺวา อายสฺมนฺตํ นาคเสนํ เอตทโวจ ‘‘ภนฺเต นาคเสน, กิํ ปน พุทฺโธ ตยา ทิฏฺโฐ’’ติฯ ‘‘น หิ, มหาราชา’’ติฯ ‘‘กิํ ปน เต อาจริเยหิ พุทฺโธ ทิฏฺโฐ’’ติ? ‘‘น หิ, มหาราชา’’ติฯ ‘‘ภนฺเต นาคเสน, น กิร ตยา พุทฺโธ ทิฏฺโฐ, นาปิ กิร เต อาจริเยหิ พุทฺโธ ทิฏฺโฐ, เตน หิ, ภนฺเต นาคเสน, นตฺถิ พุทฺโธ, น เหตฺถ พุทฺโธ ปญฺญายตี’’ติฯ
๑. อถ โข ลำดับนั้น มิลินฺโท ราชา พระราชา พระนามว่า มิลินท์ อายสฺมา นาคเสโน ท่านพระนาคเสน วสติ อยู่ เยน =  ยตฺถ ทิสาภาเค ในส่วนแห่งทิศใด, อุปสงฺกมิ เสด็จเข้าไปแล้ว เตน = ตํ ทิสาภาคํ สู่ส่วนแห่งทิศนั้น, อุปสงฺกมิตฺวา ครั้นเสด็จเข้าไปแล้ว อภิวาเทตฺวา ทรงนมัสการ อายสฺมนฺตํ นาคเสนํ ท่านพระนาคเสนแล้ว นิสีทิ จึงประทับนั่ง เอกมนฺตํ ณ ที่สมควรแห่งหนึ่ง, มิลินฺโท ราชา พระราชาพระนามว่า มิลินท์ นิสินฺโน โข ครั้นประทับนั่งเรียบร้อย เอกมนฺตํ ณที่สมควรแห่งหนึ่งแล้ว ญาตุกาโม มีพระประสงค์จะทราบ โสตุกาโม จะสดับ ธาเรตุกาโม จะจดจำไว้ ทฏฺฐุกาโม จะทอดพระเนตรเห็น ญาณาโลกํ  ซึ่งแสงสว่างคือความรู้ ภินฺทิตุกาโม จะทำลาย อญฺญาณํ ซึ่งความไม่รู้ อุปฺปาเทตุกาโม จะทำ - ญาณาโลกํ ซึ่งแสงสว่างคือญาณ - ให้เกิดขึ้น นาเสตุกาโม จะทำ - อวิชฺชนฺธการํ ความมืดคืออวิชชา - ให้พินาศ อุปฏฺฐเปตฺวา ทรงตั้งไว้ ธิติํ จ ความทรงจำ อุสฺสาหํ จ ความอุตสาหะ สติํ สติ สมฺปชญฺญํ จ และสัมปชัญญะ อโวจ แล้วจึงตรัส เอตํ วจนํ พระดำรัสนี้ อายสฺมนฺตํ นาคเสนํ กะท่านพระนาคเสน อิติ ว่า ภนฺเต นาคเสน พระคุณเจ้านาคเสน ตยา ปน พระคุณเจ้า ทิฏฺโฐ เคยเห็น พุทฺโธ  พระพุทธเจ้าแล้ว กิํ หรือไร ดังนี้

วันศุกร์ที่ 12 สิงหาคม พ.ศ. 2559

มิลินทปัญหา ๒๑ .วิจารวรรคที่ ๓ (ปัญหาที่ ๖) เวทคูปญฺโห ปัญหาเกี่ยวกับผู้เข้าถึงการรับรู้ภายใน

๖. เวทคูปญฺโห
. ราชา อาห ‘‘ภนฺเต นาคเสน, เวทคู อุปลพฺภตี’’ติ? ‘‘โก ปเนส, มหาราช, เวทคู นามา’’ติ? ‘‘โย, ภนฺเต, อพฺภนฺตเร ชีโว จกฺขุนา รูปํ ปสฺสติ, โสเตน สทฺทํ สุณาติ, ฆาเนน คนฺธํ ฆายติ, ชิวฺหาย รสํ สายติ, กาเยน โผฏฺฐพฺพํ ผุสติ, มนสา ธมฺมํ วิชานาติ, ยถา มยํ อิธ ปาสาเท นิสินฺนา เยน เยน วาตปาเนน อิจฺเฉยฺยาม ปสฺสิตุํ, เตน เตน วาตปาเนน ปสฺเสยฺยาม, ปุรตฺถิเมนปิ วาตปาเนน ปสฺเสยฺยาม, ปจฺฉิเมนปิ วาตปาเนน ปสฺเสยฺยาม, อุตฺตเรนปิ วาตปาเนน ปสฺเสยฺยาม, ทกฺขิเณนปิ วาตปาเนน ปสฺเสยฺยามฯ เอวเมว โข, ภนฺเต, อยํ อพฺภนฺตเร ชีโว เยน เยน ทฺวาเรน อิจฺฉติ ปสฺสิตุํ, เตน เตน ทฺวาเรน ปสฺสตี’’ติฯ

วันศุกร์ที่ 5 สิงหาคม พ.ศ. 2559

มิลินทปัญหา ๒๐ .วิจารวรรคที่ ๓ (ปัญหาที่ ๕) ภวนฺตสงฺขารชายมานปญฺโห ปัญหาเกี่ยวกับสังขารที่มีอยู่กำลังเกิด

๕. ภวนฺตสงฺขารชายมานปญฺโห
. ราชา อาห ‘‘ภนฺเต นาคเสน, อตฺถิ เกจิ สงฺขารา, เย อภวนฺตา ชายนฺตี’’ติ? ‘‘นตฺถิ มหาราช เกจิ สงฺขารา, เย อภวนฺตา ชายนฺติ, ภวนฺตาเยว โข มหาราช สงฺขารา ชายนฺตี’’ติฯ
‘‘โอปมฺมํ กโรหี’’ติฯ ‘‘ตํ กิํ มญฺญสิ มหาราช อิทํ เคหํ อภวนฺตํ ชาตํ, ยตฺถ ตฺวํ นิสินฺโนสี’’ติ? ‘‘นตฺถิ กิญฺจิ ภนฺเต อิธ อภวนฺตํ ชาตํ, ภวนฺตํเยว ชาตํ, อิมานิ โข ภนฺเต ทารูนิ วเน อเหสุํ, อยญฺจ มตฺติกา ปถวิยํ อโหสิ, อิตฺถีนญฺจ ปุริสานญฺจ ตชฺเชน วายาเมน เอวมิทํ เคหํ นิพฺพตฺต’’นฺติฯ ‘‘เอวเมว โข มหาราช นตฺถิ เกจิ สงฺขารา, เย อภวนฺตา ชายนฺติ, ภวนฺตา เยว สงฺขารา ชายนฺตี’’ติฯ

วันอังคารที่ 2 สิงหาคม พ.ศ. 2559

สพฺเพนสพฺพํ สพฺพถา สพฺพํ (ร่าง)

สพฺเพนสพฺพํ ความหมายคือ โดยประการทั้งปวงซึ่งสามารถแปลโดยอรรถาธิบายเชิงคำศัพท์ว่า ทั้งหมดโดยอาการคือกลุ่ม ส่วน สพฺพถา สพฺพํ ทั้งสิ้นโดยสภาวะคือระบุทุกส่วนที่แยกย่อยจากกลุ่ม. โดยทั้งสองคำนี้ คือ สพฺเพนสพฺพํ และ สพฺพถา สพฺพํ สัมพันธ์เป็นวิเสสนะของบทนามที่ตนเกี่ยวข้อง และใช้เป็นไวพจน์กัน.

มิลินทปัญหา ๑๘.วิจารวรรคที่ ๓ (ปัญหาที่ ๓) โกฏิปัญญายนปัญหา ปัญหาเกี่ยวกับการปรากฏแห่งที่สุด

๓. โกฏิปญฺญายนปญฺโห
. ราชา อาห ‘‘ภนฺเต นาคเสน, ยํ ปเนตํ พฺรูสิ ปุริมา โกฏิ น ปญฺญายตีติ, กตมา จ สา ปุริมา โกฏี’’ติ? ‘‘โย โข, มหาราช, อตีโต อทฺธา, เอสา ปุริมา โกฏี’’ติฯ ‘‘ภนฺเต นาคเสน, ยํ ปเนตํ พฺรูสิ ปุริมา โกฏิ น ปญฺญายตีติ, กิํ ปน, ภนฺเต, สพฺพาปิ ปุริมา โกฏิ น ปญฺญายตี’’ติ? ‘‘กาจิ, มหาราช, ปญฺญายติ, กาจิ น ปญฺญายตี’’ติฯ ‘‘กตมา, ภนฺเต, ปญฺญายติ, กตมา น ปญฺญายตี’’ติ? ‘‘อิโต ปุพฺเพ, มหาราช, สพฺเพน สพฺพํ สพฺพถา สพฺพํ อวิชฺชา นาโหสีติ เอสา ปุริมา โกฏิ น ปญฺญายติ, ยํ อหุตฺวา สมฺโภติ, หุตฺวา ปฏิวิคจฺฉติ, เอสา ปุริมา โกฏิ ปญฺญายตี’’ติ
‘‘ภนฺเต นาคเสน, ยํ อหุตฺวา สมฺโภติ, หุตฺวา ปฏิวิคจฺฉติ, นนุ ตํ อุภโต ฉินฺนํ อตฺถํ คจฺฉตี’’ติ? ‘‘ยทิ, มหาราช, อุภโต ฉินฺนํ อตฺถํ คจฺฉติ, อุภโต ฉินฺนา สกฺกา วฑฺเฒตุ’’นฺติ? ‘‘อาม, สาปิ สกฺกา วฑฺเฒตุ’’นฺติฯ’’นาหํ, ภนฺเต, เอตํ ปุจฺฉามิ โกฏิโต สกฺกา วฑฺเฒตุ’’นฺติ? ‘‘อาม สกฺกา วฑฺเฒตุ’’นฺติฯ
‘‘โอปมฺมํ กโรหี’’ติฯ เถโร ตสฺส รุกฺขูปมํ อกาสิ,ขนฺธา จ เกวลสฺส ทุกฺขกฺขนฺธสฺส พีชานี’’ติฯ
‘‘กลฺโลสิ, ภนฺเต นาคเสนา’’ติฯ
โกฏิปญฺญายนปญฺโห ตติโยฯ

**************

มิลินทปัญหา ๑๙.วิจารวรรคที่ ๓ (ปัญหาที่ ๔) สังขารชายนปัญหา ปัญหาเกี่ยวกับสังขารที่กำลังเกิด

๔. สงฺขารชายมานปญฺโห
. ราชา อาห ‘‘ภนฺเต นาคเสน, อตฺถิ เกจิ สงฺขารา, เย ชายนฺตี’’ติ? ‘‘อาม, มหาราช, อตฺถิ สงฺขารา, เย ชายนฺตี’’ติฯ ‘‘กตเม เต, ภนฺเต’’ติ? ‘‘จกฺขุสฺมิญฺจ โข, มหาราช, สติ รูเปสุ จ จกฺขุวิญฺญาณํ โหติ, จกฺขุวิญฺญาเณ สติ จกฺขุสมฺผสฺโส โหติ, จกฺขุสมฺผสฺเส สติ เวทนา โหติ, เวทนาย สติ ตณฺหา โหติ, ตณฺหาย สติ อุปาทานํ โหติ, อุปาทาเน สติ ภโว โหติ, ภเว สติ ชาติ โหติ, ชาติยา สติ ชรามรณํ โสกปริเทวทุกฺขโทมนสฺสุปายาสา สมฺภวนฺติ, เอวเมตสฺส เกวลสฺส ทุกฺขกฺขนฺธสฺส สมุทโย โหติฯ จกฺขุสฺมิญฺจ โข, มหาราช, อสติ รูเปสุ จ อสติ จกฺขุวิญฺญาณํ น โหติ, จกฺขุวิญฺญาเณ อสติ จกฺขุสมฺผสฺโส น โหติ, จกฺขุสมฺผสฺเส อสติ เวทนา น โหติ, เวทนาย อสติ ตณฺหา น โหติ, ตณฺหาย อสติ อุปาทานํ น โหติ, อุปาทาเน อสติ ภโว น โหติ, ภเว อสติ ชาติ น โหติ, ชาติยา อสติ ชรามรณํ โสกปริเทวทุกฺขโทมนสฺสุปายาสา น โหนฺติ, เอวเมตสฺส เกวลสฺส ทุกฺขกฺขนฺธสฺส นิโรโธ โหตี’’ติฯ
‘‘กลฺโลสิ, ภนฺเต นาคเสนา’’ติฯ
สงฺขารชายมานปญฺโห จตุตฺโถฯ

*******************

วันพฤหัสบดีที่ 21 กรกฎาคม พ.ศ. 2559

มิลินทปัญหา ๑๗.วิจารวรรค ที่ ๓ (ปัญหาที่ ๒) ปุริมโกฏิปัญหา ปัญหาเกี่ยวกับที่สุดข้างต้น

๒. ปุริมโกฏิปญฺโห
. ราชา อาห ‘‘ภนฺเต นาคเสน, ยํ ปเนตํ พฺรูสิ ปุริมา โกฏิ น ปญฺญายตีติ, ตสฺส โอปมฺมํ กโรหี’’ติฯ ‘‘ยถา, มหาราช, ปุริโส ปริตฺตํ [ปริปกฺกํ (ก.)] พีชํ ปถวิยํ นิกฺขิเปยฺย, ตโต องฺกุโร อุฏฺฐหิตฺวา อนุปุพฺเพน วุฑฺฒิํ วิรูฬฺหิํ เวปุลฺลํ อาปชฺชิตฺวา ผลํ ทเทยฺยฯ ตโต พีชํ คเหตฺวา ปุน โรเปยฺย, ตโตปิ องฺกุโร อุฏฺฐหิตฺวา อนุปุพฺเพน วุฑฺฒิํ วิรูฬฺหิํ เวปุลฺลํ อาปชฺชิตฺวา ผลํ ทเทยฺยฯ เอวเมติสฺสา สนฺตติยา อตฺถิ อนฺโต’’ติ? ‘‘นตฺถิ ภนฺเต’’ติฯ ‘‘เอวเมว โข, มหาราช, อทฺธานสฺสาปิ ปุริมา โกฏิ น ปญฺญายตี’’ติฯ

วันอังคารที่ 12 กรกฎาคม พ.ศ. 2559

๑๖ มิลินทปัญหา : วิจารวรรคที่ ๓ ปัญหาที่ ๑ อัทธานมูลปัญหา ปัญหาเกี่ยวกับมูลเหตุแห่งอัทธา.

๓. วิจารวคฺโค
๑. อทฺธานมูลปญฺโห
วิจารวคฺโค วรรคที่มีลักษณะของวิจารเป็นที่สุด
อทฺธานมูลปญฺโห ปัญหาเกี่ยวกับมูลเหตุแห่งอัทธา.
. ราชา อาห ‘‘ภนฺเต นาคเสน, อตีตสฺส อทฺธานสฺส กิํ มูลํ, อนาคตสฺส อทฺธานสฺส กิํ มูลํ, ปจฺจุปฺปนฺนสฺส อทฺธานสฺส กิํ มูล’’นฺติ? ‘‘อตีตสฺส จ, มหาราช, อทฺธานสฺส อนาคตสฺส จ อทฺธานสฺส ปจฺจุปฺปนฺนสฺส จ อทฺธานสฺส อวิชฺชา มูลํฯ อวิชฺชาปจฺจยา สงฺขารา, สงฺขารปจฺจยา วิญฺญาณํ, วิญฺญาณปจฺจยา นามรูปํ, นามรูปปจฺจยา สฬายตนํ, สฬายตนปจฺจยา ผสฺโส, ผสฺสปจฺจยา เวทนา, เวทนาปจฺจยา ตณฺหา, ตณฺหาปจฺจยา อุปาทานํ, อุปาทานปจฺจยา ภโว, ภวปจฺจยา ชาติ, ชาติปจฺจยา ชรามรณํ โสกปริเทวทุกฺขโทมนสฺสุปายาสา สมฺภวนฺติฯ เอวเมตสฺส เกวลสฺส ทุกฺขกฺขนฺธสฺส อทฺธานสฺส [ทุกฺขกฺขนฺธสฺส อทฺธานสฺส (สี.)] ปุริมา โกฏิ น ปญฺญายตี’’ติฯ

วันพฤหัสบดีที่ 23 มิถุนายน พ.ศ. 2559

กาลงฺกต แปลได้หลายอย่าง

กาลงฺกต ศัพท์นี้ มีคำแปลตามนัยของอรรถกถาต่างๆ ดังนี้
๑. ผู้ถึงกาละ (กาล ความตาย + คต ถึง) แปลง ค เป็น ก. วิเคราะห์เป็นทุติยาตัปปุริสสมาส ชนิดไม่ลบวิภัตติ ว่า

วันเสาร์ที่ 18 มิถุนายน พ.ศ. 2559

มิลินทปัญหา อัทธานวรรคที่ ๒ (๖). ปัญหาเกี่ยวกับความเป็นอันเดียวกันหรือต่างกันของนามรูป

๖. นามรูปเอกตฺตนานตฺตปญฺโห
๖. ปัญหาเกี่ยวกับความเป็นอันเดียวกันหรือต่างกันของนามรูป

. ราชา อาห ‘‘ภนฺเต นาคเสน, โก ปฏิสนฺทหตี’’ติ? เถโร อาห ‘‘นามรูปํ โข, มหาราช, ปฏิสนฺทหตี’’ติฯ ‘‘กิํ อิมํ เยว นามรูปํ ปฏิสนฺทหตี’’ติ? ‘‘น โข, มหาราช, อิมํ เยว นามรูปํ ปฏิสนฺทหติ, อิมินา ปน, มหาราช, นามรูเปน กมฺมํ กโรติ โสภนํ วา ปาปกํ วา, เตน กมฺเมน อญฺญํ นามรูปํ ปฏิสนฺทหตี’’ติฯ ‘‘ยทิ, ภนฺเต, น อิมํ เยว นามรูปํ ปฏิสนฺทหติ, นนุ โส มุตฺโต ภวิสฺสติ ปาปเกหิ กมฺเมหี’’ติ? เถโร อาห ‘‘ยทิ น ปฏิสนฺทเหยฺย, มุตฺโต ภเวยฺย ปาปเกหิ กมฺเมหิฯ ยสฺมา จ โข, มหาราช, ปฏิสนฺทหติ, ตสฺมา น มุตฺโต ปาปเกหิ กมฺเมหี’’ติฯ

วันศุกร์ที่ 17 มิถุนายน พ.ศ. 2559

สาสนอันตรธานกถา

อันตรธานกถา
จำเดิมแต่พระผู้มีพระภาค ผู้ทรงรู้แจ้งโลก มีสายพระเนตรยาวไกล ได้ตรัสรู้พระอนุตรสัมมาสัมโพธิญาณแล้ว จึงประกาศพระสัทธรรมคำสอนของพระองค์ให้แผ่ไพศาลไปทั่วพื้นที่ชมพูทวีป มีอริยสาวกทั้งที่เป็นมนุษย์และเทวดาเกิดขึ้นมากมาย พระสัทธรรมที่พระองค์ประกาศไว้เป็นดุจดังประทีบที่จุดเพื่อบอกทางในยามค่ำคืน พระศาสนารุ่งเรืองอย่างโดดเด่น.  แต่ทว่า ท่ามกลางความเจริญรุ่งเรืองแห่งพระศาสนานั้น พระองค์ผู้เป็นเจ้าของแห่งธรรม กลับตรัสว่า ใช่ว่าศาสนาของพระองค์จะตั้งอยู่ตลอดไปก็หามิได้ โดยที่แท้ ก็มีสักวันหนึ่งที่จะต้องถึงกาลที่ล่มสลายไปในที่สุด นอกจากจะมีกาลเวลาเป็นเงื่อนไขแล้ว ยังมีเหตุปัจจัยอื่นๆ อีกที่ทำให้เกิดความล่มสลายสาบสูญแห่งพระสัทธรรม.
พระผู้มีพระภาคได้ตรัสถึงเหตุปัจจัยภายในศาสนา ดังนี้[๑]

วันพฤหัสบดีที่ 16 มิถุนายน พ.ศ. 2559

เสวิสูตร อัง. ติก. ๑๒/๔๖๕

เสวิสูตร
อังคุตรนิกาย ติกนิบาต ๑๒/๔๖๕
         [๔๖๕] ดูกรภิกษุทั้งหลาย บุคคล ๓ จำพวกนี้ มีปรากฏอยู่ในโลก ๓ จำพวกเป็นไฉน
คือ
๑. บุคคลที่ไม่ควรเสพ ไม่ควรคบ ไม่ควรเข้าไปนั่งใกล้ มีอยู่
๒. บุคคลที่ควรเสพ ควรคบ ควรเข้าไปนั่งใกล้ มีอยู่
๓. บุคคลที่จะต้องสักการะเคารพ แล้วจึงเสพ คบหา เข้าไปนั่งใกล้ มีอยู่
ดูกรภิกษุทั้งหลาย ก็บุคคลที่ไม่ควรเสพ ไม่ควรคบ ไม่ควรเข้าไปนั่งใกล้เป็นไฉน.
บุคคลบางคนในโลกนี้ เป็นคนเลวโดยศีล สมาธิ ปัญญา บุคคลเห็นปานนี้ ไม่ควรเสพ ไม่ควรคบ ไม่ควรเข้าไปนั่งใกล้ นอกจากจะเอ็นดูอนุเคราะห์กัน

วันจันทร์ที่ 13 มิถุนายน พ.ศ. 2559

มิลินทปัญหา อัทธานวรรคที่ ๒ (๕) (สุข) เวทนาปัญหา

๕. เวทนาปญฺโห
ปัญหาเกี่ยวกับสุขเวทนาเป็นกุศล อกุศล หรือ อัพยากตะ
. ราชา อาห ‘‘ภนฺเต นาคเสน, สุขา เวทนา กุสลา วา อกุสลา วา อพฺยากตา วา’’ติ?
ราชา พระเจ้ามิลินท์ อาห ตรัสถามว่า ภนฺเต นาคเสน พระคุณเจ้าพระนาคเสน สุขา เวทนา เวทนาอันเป็นสุข โหติ เป็น กุสลา วา กุศล, อกุสลา วา อกุศล, อพฺยากตา วา หรือ อัพยากตะ อิติ ดังนี้ ?.

มิลินทปัญหา อัทธานวรรคที่ ๒ (๔) ปัญหาเกี่ยวกับการเสวยเวทนาของพระอรหันตบุคคลผู้ไม่มีปฏิสนธิ

๔. ปฏิสนฺทหนปุคฺคลเวทิยนปญฺโห[1]
ปัญหาเกี่ยวกับการเสวยเวทนาของพระอรหันตบุคคลผู้ไม่มีปฏิสนธิ ที่ ๔.

. ราชา อาห ‘‘ภนฺเต นาคเสน, โย น ปฏิสนฺทหติ, เวเทติ โส กิญฺจิ ทุกฺขํ เวทน’’นฺติ?
ราชา พระเจ้ามิลินท์ อาห ตรัสถามแล้วว่า นาคเสน ข้าแต่พระนาคเสน ภนฺเต ผู้เจริญ โย = อรหา พระอรหันต์ใด น ปฏิสนฺทหติ ย่อมไม่เกิดอีก โส = อรหา พระอรหันต์นััน เวเทติ ย่อมเสวย เวทนํ ซึ่งเวทนา ทุกฺขํ อันเป็นทุกข์ กิญฺจิ บางอย่าง หรือไม่? อิติ ดังนี้

มิลินทปัญหา อัทธานวรรคที่ ๒ (๓) ปัญหาเกี่ยวกับญาณและปัญญา

๓. ญาณปญฺญาปญฺโห
๓. ญาณปญฺญาปญฺโห ปัญหาเกี่ยวกับญาณและปัญญา

. ราชา อาห ‘‘ภนฺเต นาคเสน, ยสฺส ญาณํ อุปฺปนฺนํ, ตสฺส ปญฺญา อุปฺปนฺนา’’ติ?
๓.ราชา พระราชา อาห  ตรัสถาม อิติ ว่า ภนฺเต นาคเสน พระคุณเจ้านาคเสน   ญาณํ ญาณ อุปฺปนฺนํ เกิดขึ้น ยสฺส โยคาวจรสฺส แก่พระโยคาวจรใด, ปญฺญา ปัญญา อุปฺปนฺนา ก็เกิดขึ้น  ตสฺส  โยคาวจรสฺส แก่พระโยคาวจรนั้นหรือ?.

มิลินทปัญหา อัทธานวรรค (๒) ปัญหาเกี่ยวกับการปฏิสนธิ

๒. ปฏิสนฺทหนปญฺโห
๒. ปฏิสนฺทหนปฃฺโห อ.ปัญหาเกี่ยวกับการปฏิสนธิ

. ราชา อาห ‘‘ภนฺเต นาคเสน, โย น ปฏิสนฺทหติ, ชานาติ โส  น ปฏิสนฺทหิสฺสามีติ?
๒.ราชา อ.พระราชา อาห ตรัส อิติ ว่า นาคเสน ข้าแต่พระนาคเสน ภนฺเต ผู้เจริญ, โย ปุคฺคโล อ.บุคคลใด น ปฏิสนฺทหติ ย่อมไม่ปฏิสนธิ, โส ปุคฺคโล  อ.บุคคลนั้น ชานาติ จะรู้ อิติ ว่า อหํ อ.เรา น ปฏิสนฺทหิสฺสามิ จักไม่ปฏิสนธิ ดังนี้ หรือไม่?

มิลินทปัญหา อัทธานวรรค (๒) ปัญหาเกี่ยวกับการปฏิสนธิ

๒. ปฏิสนฺทหนปญฺโห
๒. ปฏิสนฺทหนปฃฺโห
อ.ปัญหาเกี่ยวกับการปฏิสนธิ
. ราชา อาห ‘‘ภนฺเต นาคเสน, โย น ปฏิสนฺทหติ, ชานาติ โส  น ปฏิสนฺทหิสฺสามีติ?

๒.ราชา อ.พระราชา อาห ตรัส อิติ ว่า นาคเสน ข้าแต่พระนาคเสน ภนฺเต ผู้เจริญ, โย ปุคฺคโล อ.บุคคลใด น ปฏิสนฺทหติ ย่อมไม่ปฏิสนธิ, โส ปุคฺคโล อ.บุคคลนั้น ชานาติ จะรู้ อิติ ว่า อหํ อ.เรา น ปฏิสนฺทหิสฺสามิ จักไม่ปฏิสนธิ ดังนี้ หรือไม่?

มิลินทปัญหา อัทธานวรรค ที่ ๒ (๑) ปัญหาเกี่ยวกับความสืบกันแห่งธรรม

๒. อทฺธานวคฺโค
๑. ธมฺมสนฺตติปญฺโห
๒. อทฺธานวคฺโค อ.อัทธานวรรค
๑. ธมฺมสนฺตติปฃฺโห อ.ปัญหาเกี่ยวกับความสืบกันแห่งธรรม
. ราชา อาห ‘‘ภนฺเต นาคเสน, โย อุปฺปชฺชติ, โส เอว โส, อุทาหุ อญฺโญ’’ติ?
ราชา อ.พระราชา อาห ตรัส อิติ ว่า นาคเสน ข้าแต่พระนาคเสน ภนฺเต ผู้เจริญ โย ทหโร อ.เด็ก คนใด อุปฺปชฺชติ ย่อม เกิด, โส ทหโร อ.เด็ก คนนั้น อุปฺปชฺชติ ย่อมเกิด โส ปุคฺคโล เป็นบุคคลนั้น เอว นั่นแหละ หุตฺวา เป็น, อุทาหุ หรือว่า อฃฺโฃ ปุคฺคโล อ.บุคคลอื่น อีกคนหนึ่ง อุปฺปชฺชติ ย่อมเกิด โส ปุคฺคโล เป็นบุคคลนั้น หุตฺวา เป็น? ดังนี้.[1]

มิลินทปัญหา ๑๖ ปัญหาเกี่ยวกับการทำกิจเดียวกันให้สำเร็จ แห่งธรรมต่างกัน

๑๖. นานาธมฺมานํ  เอกกิจฺจอภินิปฺผาทนปญฺโห
๑๖.เอกกิจฺจอภินิปฺผาทนปฃฺโห ปัญหาเกี่ยวกับการทำกิจเดียวกันให้สำเร็จ
นานาธมฺมานํ แห่งธรรมต่างกัน

๑๖. ราชา อาห ‘‘ภนฺเต นาคเสน,อิเม ธมฺมา นานา สนฺตา เอกํ อตฺถํ  อภินิปฺผาเทนฺตี’’ติ?
๑๖. ราชา อ.พระราชา ปุจฺฉิ  ทรงถามแล้ว อิติ ว่า ภนฺเต นาคเสน พระคุณเจ้านาคเสน, อิเม ธมฺมา ธรรมท.เหล่านี้ นานา เป็นธรรมต่างกัน[๑] สนฺตา มีอยู่ อตฺถํ ยังประโยชน์ เอกํ อย่างเดียวกัน อภินิปฺผาเทนฺติ ย่อมให้สำเร็จได้หรือ?" ดังนี้.

มิลินทปัญหา ๑๕ ปัญหาเกี่ยวกับลักษณะของปัญญา

๑๕. ปญฺญาลกฺขณปญฺโห
๑๕. ปฃฺฃาลกฺขณปฃฺโห ปัญหาเกี่ยวกับลักษณะของปัญญา

๑๕. ราชา อาห ‘‘ภนฺเต นาคเสน, กึลกฺขณา ปญฺญา’’ติ?
๑๕. ราชา พระราชา อาห ตรัสแล้ว อิติ ว่า ภนฺเต นาคเสน พระคุณเจ้านาคเสน, ปฃฺฃา ปัญญา กึลกฺขณา  มีอะไรเป็นลักษณะเล่า ?" ดังนี้.

มิลินทปัญหา ๑๓ ปัญหาเกี่ยวกับลักษณะของสติ

๑๓. สติลกฺขณปญฺโห
๑๓. สติลกฺขณปฃฺโห ปัญหาเกี่ยวกับลักษณะของสติ
๑๓. ราชา อาห ‘‘ภนฺเต นาคเสน, กึลกฺขณา สตี’’ติ?
๑๓. ราชา พระราชา อาห ตรัสแล้ว อิติ ว่า ภนฺเต นาคเสน พระคุณเจ้านาคเสน  สติ สติ กึลกฺขณํ  มีอะไรเป็นลักษณะเล่า ?" ดังนี้.

‘‘อปิลาปนลกฺขณา, มหาราช, สติ, อุปคฺคณฺหนลกฺขณา จา’’ติฯ
เถโร พระเถระ วิสชฺเชสิ วิสัชชนาอิติ ว่า มหาราช ขอถวายพระพรมหาบพิตร สติ สติ  อปิลาปนลกฺขณา จ มีการไม่ลืมเลือนเป็นลักษณะ[1] ด้วย, อุปคฺคณฺหนลกฺขณา จ มีการเข้าไปถือเอาเป็นลักษณะ ด้วย

มิลินทปัญหา ๑๔ ปัญหาเกี่ยวกับลักษณะของสมาธิ

๑๔. สมาธิปญฺโห
๑๔. สมาธิปญฺโห ปัญหาเกี่ยวกับสมาธิ.

๑๔. ราชา อาห ‘‘ภนฺเต นาคเสน,  กึลกฺขโณ สมาธี’’ติ?
๑๔. ราชา พระราชา อาห ตรัสแล้ว อิติ ว่า ภนฺเต นาคเสน พระคุณเจ้านาคเสน, สมาธิ อ.สมาธิ กิํลกฺขณํ  มีอะไรเป็นลักษณะเล่า ?" ดังนี้.

‘‘ปมุขลกฺขโณ, มหาราช, สมาธิ, เย เกจิ กุสลา ธมฺมา, สพฺเพ เต สมาธิปมุขา โหนฺติ สมาธินินฺนา สมาธิโปณา สมาธิปพฺภารา’’ติฯ
เถโร พระเถระ วิสชฺเชสิ วิสัชชนา อิติ ว่า "มหาราช ขอถวายพระพรมหาบพิตร สมาธิ สมาธิ  ปมุขลกฺขโณ มีความเป็นประธานเป็นลักษณะ, ธมฺมา ธรรมท. กุสลา อันเป็นกุศล เยเกจิ อย่างใดอย่างหนึ่ง สนฺติ มีอยู่, ธมฺมา ธรรมท. กุสลา อันเป็นกุศล เต  เหล่านั้น สพฺเพ ทั้งปวง สมาธิปมุขา มีสมาธิเป็นประธาน สมาธินินฺนา เป็นสภาพน้อมไปสู่สมาธิ สมาธิโปณา เป็นสภาพโอนไปสู่สมาธิ สมาธิปพฺภารา เป็นสภาพเงื้อมไปสู่สมาธิ โหนฺติ ย่อมเป็น ดังนี้.

‘‘โอปมฺมํ กโรหี’’ติฯ
ราชา พระราชา อาห ตรัส อิติ ว่า ตฺวํ ท่าน กโรหิ จงกระทำ โอปมฺมํ ซึ่งอุปมา ดังนี้.

‘‘ยถา, มหาราช, กูฏาคารสฺส ยา กาจิ  โคปานสิโย, สพฺพา ตา กูฏงฺคมา โหนฺติ กูฏนินฺนา กูฏสโมสรณา,  กูฏํ ตาสํ  อคฺคมกฺขายติฯ เอวเมว โข, มหาราช, เย เกจิ กุสลา ธมฺมา, สพฺเพ เต สมาธิปมุขา โหนฺติ  สมาธินินฺนา สมาธิโปณา สมาธิปพฺภาราติฯ

เถโร พระเถระ วิสชฺเชสิ  วิสัชชนา อิติ ว่า มหาราช ขอถวายพระพรมหาบพิตร โคปานสิโย กลอนหลังคา[1]ท. กูฏาคารสฺส แห่งเรือนยอด ยากาจิ เหล่าใดเหล่าหนึ่ง สนฺติ มีอยู่, สพฺพา ตา กลอนหลังคาท.เหล่านั้นทั้งปวง กูฏงฺคมา มีเรือนยอดเป็นที่ไป  กูฏนินฺนา เป็นสภาพน้อมไปสู่เรือนยอด, กูฏสโมสรณา เป็นสภาพประชุมกันที่เรือนยอด โหนฺติ ย่อมเป็น กูฏํ เรือนยอด อกฺขายติ อันบัณฑิตย่อมเรียก อคฺคํ ว่าเป็นยอด ตาสํ โคปานสีนํ แห่งกลอนหลังคาท.เหล่านั้น ยถา ฉันใด, มหาราช ขอถวายพระพรมหาบพิตร สมาธิ สมาธิ  ปมุขลกฺขโณ มีความเป็นประธานเป็นลักษณะ, ธมฺมา ธรรมท.  กุสลา อันเป็นกุศล เยเกจิ อย่างใดอย่างหนึ่ง สนฺติ มีอยู่, ธมฺมา  ธรรมท. กุสลา อันเป็นกุศล เต เหล่านั้น สพฺเพ ทั้งปวง  สมาธิปมุขา มีสมาธิเป็นประธาน สมาธินินฺนา เป็นสภาพน้อมไปสู่สมาธิ สมาธิโปณา เป็นสภาพโอนไปสู่สมาธิ สมาธิปพฺภารา เป็นสภาพเงื้อมไปสู่สมาธิ โหนฺติ ย่อมเป็น เอวํ ฉันนั้น เอว นั่นเทียว โข แล" ดังนี้[2]

‘‘ภิยฺโย โอปมฺมํ กโรหี’’ติฯ
ราชา อ.พระราชา อาห ตรัสแล้ว อิติ ว่า ตฺวํ อ.ท่าน กโรหิ จงกระทำ โอปมฺมํ ซึ่งการอุปมา ภิยฺโย โดยยิ่ง” ดังนี้.

‘‘ยถา, มหาราช, โกจิ ราชา จตุรงฺคินิยา เสนาย สทฺธึ สงฺคามํ โอตเรยฺย, สพฺพาว เสนา หตฺถี จ อสฺสา จ รถา จ ปตฺตี จ ตปฺปมุขา ภเวยฺยุํ ตนฺนินฺนา ตปฺโปณา ตปฺปพฺภารา ตํ เยว อนุปริยาเยยฺยุํฯ เอวเมว โข, มหาราช, เย เกจิ กุสลา ธมฺมา, สพฺเพ เต สมาธิปมุขา โหนฺติสมาธินินฺนา สมาธิโปณา สมาธิปพฺภาราฯ
เถโร พระเถระ อาห  กราบทูล อิติ ว่า มหาราช ขอถวายพระพรมหาบพิตร ราชา พระราชา โกจิ บางพระองค์ โอตเรยฺย พึงหยั่งลง สงฺคามํ สู่สงคราม สทฺธึ พร้อม เสนาย ด้วยกองทัพ จตุรงฺคินียา อันประกอบด้วยองค์ ๔, เสนา กองทัพท.   สพฺพาว ทั้งปวงเทียว หตฺถี จ ช้างท. ด้วย, อสฺสา จ ม้าท. ด้วย, รถา จ รถท. ด้วย ปตฺตี จ พลเดินเท้าท. ด้วย, ตปฺปมุขา มีพระราชานั้นเป็นประมุข ตนฺนินฺนา เป็นธรรมชาติที่น้อมไปสู่พระราชานั้น, ตปฺโปณา เป็นธรรมชาติที่โอนไปสู่พระราชานั้น, ตปฺปพฺภารา เป็นธรรมชาติเงื้อมไปสู่พระราชานั้น โหนฺติ ย่อมเป็น,  อนุปริยาเยยฺยุํ พึงคล้อยตาม ตํ ราชานํ ซึ่งพระราชานั้น เอว นั่นเทียว ยถา ฉันใด, มหาราช ขอถวายพระพรมหาบพิตร ธมฺมา อ.ธรรมท. กุสลา อันเป็นกุศล เยเกจิ อย่างใดอย่างหนึ่ง สนฺติ มีอยู่, ธมฺมา ธรรมท. กุสลา อันเป็นกุศล เต เหล่านั้น สพฺเพ ทั้งปวง สมาธิปมุขา มีสมาธิเป็นประธาน สมาธินินฺนา เป็นสภาพน้อมไปสู่สมาธิ สมาธิโปณา เป็นสภาพโอนไปสู่สมาธิ สมาธิปพฺภารา เป็นสภาพเงื้อมไปสู่สมาธิ โหนฺติ ย่อมเป็น เอวํ เอว โข ฉันนั้นนั่นเทียว แล.

เอวํ โข, มหาราช, ปมุขลกฺขโณ สมาธิฯ
มหาราช ขอถวายพระพรมหาบพิตร สมาธิ สมาธิ ปมุขลกฺขโณ มีความเป็นประธานเป็นลักษณะ เอวํ โข ฉะนี้แล.[3]

ภาสิตมฺเปตํ, มหาราช, ภควตา – ‘‘สมาธึ, ภิกฺขเว, ภาเวถ, สมาหิโต,  ภิกฺขเว, ภิกฺขุ ยถาภูตํ ปชานาตี’’ติฯ
มหาราช ขอถวายพระพรมหาบพิตร  เอตํ วจนํ ปิ แม้ อ.พระดำรัสนี้ ภควตา อันพระผู้มีพระภาค ภาสิตํ  ตรัสแล้ว   อิติ ว่า ภิกฺขเว ดูก่อนภิกษุท.ตุมฺเห อ.เธอท. สมาธึ ยังสมาธิ ภาเวถ จงให้บังเกิด, ภิกฺขเว ดูก่อนภิกษุท. ภิกฺขุ ภิกษุ สมาหิโต ตั้งมั่นแล้ว ปชานาติ ย่อมรู้เห็น ยถาภูตํ ตามเป็นจริง"[4] ดังนี้ ดังนี้.

‘‘กลฺโลสิ, ภนฺเต นาคเสนา’’ติฯ
ราชา พระราชา อโวจ ได้ตรัสแล้ว  อิติ ว่า ภนฺเต นาคเสน พระคุณเจ้านาคเสน   ตฺวํ ท่าน อสิ ย่อมเป็น กลฺโล ผู้สามารถแก้ปัญหา ดังนี้.

สมาธิปญฺโห จุทฺทสโมฯ
สมาธิปญฺโห
อ.ปัญหาเกี่ยวกับสมาธิ
จุทฺทสโม ที่สิบสี่ นิฏฺฐิโต จบแล้ว.



[1]  อรรถกถาอธิบายว่า เคหสฺส ผาสุกาโย ซี่โครงของเรือน ซึ่งได้แก่ จันทัน ซึ่งเป็นไม้วางทอดยาวในแนวดิ่งจากโครงหลังคาอันเป็นยอดเรือน(อกไก่).
[2] ประโยคนี้เทียบให้เห็นว่า กุศลธรรมทั้งหลายมีศรัทธาเป็นต้นเหล่านั้นดังที่กล่าวมา ล้วนมีสมาธิเป็นหัวหน้า ถึงความเป็นไปร่วมกันในอารมณ์เดียวด้วยอำนาจสมาธิ มุ่งไปสมทบกับสมาธิเพื่อทำกิจของตนๆ ในอารมณ์เดียวที่สมาธิตั้งอยู่นั้น ดังนั้น สมาธิ จึงเป็นศูนย์รวมของธรรมเหล่านั้นในการทำกิจของตนแห่งธรรมนั้นๆจิต แล้วทำวิปัสสนากรรมฐานให้ก้าวหน้าต่อไปจนบรรลุคุณวิเศษ เฉกเช่นเดียวกับไม้จันทันแม้มีหลายท่อน ต่างก็มุ่งไปที่ยอดเรือนอย่างเดียวเพื่อประกอบให้มั่นทั้งนั้น ดังนั้น ยอดเรือนจึงเป็นประธาน เป็นศูนย์รวมของไม้จันทันเหล่านั้น.
[3] แม้ประโยคนี้ ชี้ให้เห็นว่า พวกเสนาต่างๆ ย่อมมีพระราชาเป็นจอมทัพ เป็นศูนย์รวมเพื่อขับเคลื่อนไปสู่สมรภูมิ. ถึง กุศลธรรมเหล่านั้นก็มีศูนย์รวมที่สมาธิ มีสมาธิเป็นหัวหน้าขับเคลื่อนไปเพื่อเจริญวิปัสสนา ทำอริยสัจให้แจ้งต่อไป.
[4] พระผู้มีพระภาคทรงเห็นภิกษุผู้เสื่อมจากสมาธิ จึงทรงทราบว่า ครั้นภิกษุเหล่านี้ได้สมาธิ วิปัสสนากัมมัฏฐานที่มีสมาธิเป็นบาท จักถึงความสำเร็จ คือ บรรลุคุณวิเศษมีโสตาปัตติมรรคเป็นต้น จึงตรัสพระบาฬีนี้. ประกอบความว่า พวกเธอจงเจริญสมาธิ ภิกษุผู้มีจิตตั้งมั่นด้วยอัปปนาสมาธิหรืออุปจารสมาธิ ย่อมรู้อริยสัจจ์ตามที่เป็นจริงว่า นี้ทุกข์เป็นต้น เพราะฉะนั้น ภิกษุผู้มีจิตมั่นคงดีแล้วด้วยสมาธิ ควรทำความเพียรเพื่อให้รู้ว่านี้ ทุกข์, นี้เหตุให้เกิดทุกข์ เป็นต้น. (สํ.สคาถ ๕, มหา. ๑๐๗๑ เป็นต้นและอรรถกถาฏีกาของสูตรนั้น).

มิลินทปัญหา ๑๐ : ปัญหาเกี่ยวกับศรัทธาที่มีความเลื่อมใสเป็นลักษณะ

๑๐. สมฺปสาทนลกฺขณสทฺธาปญฺโห
๑๐.ปัญหาเกี่ยวกับศรัทธาที่มีความเลื่อมใสเป็นลักษณะ.

๑๐. ราชา อาห ‘‘ภนฺเต นาคเสน, กึลกฺขณา สทฺธา’’ติ? ‘‘สมฺปสาทนลกฺขณา จ, มหาราช, สทฺธา, สมฺปกฺขนฺทนลกฺขณา จา’’ติฯ
๑๐. ราชา พระราชา อาห ตรัสถาม อิติ ว่า ภนฺเต นาคเสน พระคุณเจ้านาคเสน, สทฺธา ศรัทธา[๑] กึลกฺขณา มีอะไรเป็นลักษณะ ดังนี้? เถโร พระเถระ อาห ทูล อิติ ว่า มหาราช ขอถวายพระพรมหาบพิตร สทฺธา ศรัทธา สมฺปสาทนลกฺขณา มีการทำให้ผ่องใสด้วยดีเป็นลักษณะ ด้วย สมฺปกฺขนฺทนลกฺขณา มีการทำให้แล่นไปด้วยดีเป็นลักษณะ ด้วย

มิลินทปัญหา ๑๑ ปัญหาเกี่ยวกับศรัทธาที่มีการแล่นไปเป็นลักษณะ

๑๑. สมฺปกฺขนฺทนลกฺขณสทฺธาปญฺโห
๑๑. ปัญหาเกี่ยวกับศรัทธาที่มีความแล่นไปเป็นลักษณะ

๑๑. ‘‘กถํ, ภนฺเต, สมฺปกฺขนฺทนลกฺขณา สทฺธา’’ติ,?
ราชา พระราชา  ปุจฺฉิ  ตรัสถาม อิติ ว่า ภนฺเต พระคุณเจ้า สทฺธา ศรัทธา สมฺปกฺขนฺทนลกฺขณา มีการแล่นไปเป็นลักษณะ กถํ อย่างไร?” ดังนี้.

วันอาทิตย์ที่ 12 มิถุนายน พ.ศ. 2559

มิลินทปัญหา ๑๒ ปัญหาเกี่ยวกับลักษณะของวิริยะ

๑๒. วีริยลกฺขณปญฺโห
๑๒. วีริยลกฺขณปฃฺโห
อ.ปัญหาเกี่ยวกับลักษณะของวิริยะ
๑๒. ราชา อาห ‘‘ภนฺเต นาคเสน, กึลกฺขณํ วีริย’’นฺติ?
๑๒. ราชา พระราชา อาห  ตรัส อิติ ว่า ภนฺเต นาคเสน พระคุณเจ้านาคเสน, วีริยํ วิริยะ กึลกฺขณํ  มีอะไรเป็นลักษณะเล่า? ดังนี้.

‘‘อุปตฺถมฺภนลกฺขณํ มหาราช วีริยํ วีริยูปตฺถมฺภิตา สพฺเพ กุสลา ธมฺมา น  ปริหายนฺตี’’ติฯ
เถโร พระเถระ วิสชฺเชสิ  วิสัชชนา อิติ ว่า มหาราช ขอถวายพระพรมหาบพิตร วีริยํ วิริยะ  อุปตฺถมฺภนลกฺขณํ  มีการค้ำจุนเป็นลักษณะ, ธมฺมา อ.ธรรมท. กุสลา อันเป็นกุศล สพฺเพ ทั้งปวง วีริยูปตฺถมฺภิตา มีวิริยะอันค้ำจุนแล้ว น ปริหายนฺติ ย่อมไม่เสื่อม” ดังนี้.