สํยุตฺตนิกาเย
ขนฺธวคฺคฎีกา
๑.
ขนฺธสํยุตฺตํ
๑. นกุลปิตุวคฺโค
๑.
นกุลปิตุสุตฺตวณฺณนา
ฏีกาสังยุตตนิกาย
ขันธวรรค
๑. ขันธสังยุต
๑.
นกุลปิตุวรรค
๑.
ฏีกานกุลปิตุสูตร
๑. ภคฺคา นาม ชานปทิโน ราชกุมาราฯ
เตสํ นิวาโส เอโกปิ ชนปโท รุฬฺหีวเสน ‘‘ภคฺคา’’เตฺวว วุจฺจตีติ กตฺวา วุตฺตํ ‘‘เอวํนามเก ชนปเท’’ติ, เอวํ พหุวจนวเสน ลทฺธนาเม’’ติ อตฺโถฯ
พระอรรถกกถาจารย์กล่าวว่า
เอวํนามเก ชนปเท ในแว่นแคว้นที่ได้ชื่ออย่างนั้น ดังนี้ไว้ เพราะอธิบายว่า
"ราชกุมารทั้งหลาย ผู้อยู่ในแว่นแคว้นนั้น ชื่อว่า ภัคคา. แม้แว่นแคว้นแห่งเดียวซึ่งเป็นราชนิเวศน์ของพระราชกุมารเหล่านั้น
ก็เรียกว่า ภัคคา เหมือนกัน เนื่องด้วยเป็นคำไม่ตรงความหมาย(รุฬหี) หมายความว่า ชนบทนั้น ได้ชื่ออย่างนี้
โดยเกี่ยวกับเป็นพหุวจนะ
ตสฺมิ
ํ วนสณฺเฑติ
โย ปน วนสณฺโฑ ปุพฺเพ มิคานํ อภยตฺถาย ทินฺโน, ตสฺมิ ํ วนสณฺเฑฯ
ยสฺมา โส คหปติ ตสฺมิ ํ นคเร ‘‘นกุลปิตา’’ติ ปุตฺตสฺส วเสน ปญฺญายิตฺถ, ตสฺมา วุตฺตํ ‘‘นกุลปิตา’’ติ. นกุลสฺส นาม ทารกสฺส ปิตาติ อตฺโถฯ
ภริยาปิสฺส ‘‘นกุลมาตา’’ติ ปญฺญายิตฺถฯ
คำว่า ตสฺมึ วนสณฺเฑ ในไพรสณฑ์ ได้แก่ ในไพรสนฑ์
(ป่าทึบ)ใด ที่พระราชาเคยพระราชทานอภัยให้แก่หมู่มฤค.
ก็เพราะคฤหบดีนั้น ปรากฏนาม โดยเกี่ยวกับบุตรว่า นกุลปิตา
ในนครนั้น จึงเรียกท่านว่า นกุลปิตา. หมายถึง เขาเป็นบิดาของเด็กชายนกุละ.
แม้ภริยาของท่านนั้น ก็ปรากฏนามว่านกุลมาตา เช่นกัน.
ไม่มีความคิดเห็น:
แสดงความคิดเห็น