วันจันทร์ที่ 9 ธันวาคม พ.ศ. 2567

๕๐ พุทธสัพพัญญูภาวปัญหา ปัญหาว่าด้วยความเป็นพระสัพพัญญูของพระพุทธเจ้า (ปัญหาที่ ๑๐ ในสัพพัญญุตญาณวรรคที่ ๔)

๑๐. พุทฺธสพฺพญฺญุภาวปญฺโห

ปัญหาว่าด้วยความเป็นพระสัพพัญญูของพระพุทธเจ้า

๑๐. ‘‘ภนฺเต นาคเสน, ตุมฺเห ภณถ ‘ตถาคโต สพฺพญฺญู’ติฯ ปุน จ ภณถ ‘ตถาคเตน สาริปุตฺตโมคฺคลฺลานปฺปมุเข ภิกฺขุสงฺเฆ ปณามิเต จาตุเมยฺยกา จ สกฺยา พฺรหฺมา จ สหมฺปติ พีชูปมญฺจ วจฺฉตรุณูปมญฺจ อุปทสฺเสตฺวา ภควนฺตํ ปสาเทสุํ ขมาเปสุํ นิชฺฌตฺตํ อกํสู’ติฯ กิํ นุ โข, ภนฺเต นาคเสน, อญฺญาตา ตา อุปมา ตถาคตสฺส, ยาหิ ตถาคโต อุปมาหิ โอรโต ขมิโต อุปสนฺโต นิชฺฌตฺตํ คโต? ยทิ, ภนฺเต นาคเสน, ตถาคตสฺส ตา อุปมา อญฺญาตา, เตน หิ พุทฺโธ อสพฺพญฺญู, ยทิ ญาตา, เตน หิ โอกสฺส ปสยฺห วีมํสาเปกฺโข ปณาเมสิ, เตน หิ ตสฺส อการุญฺญตา สมฺภวติฯ อยมฺปิ อุภโต โกฏิโก ปญฺโห ตวานุปฺปตฺโต, โส ตยา นิพฺพาหิตพฺโพ’’ติฯ

มิลินฺโท ราชา พระเจ้ามิลินท์ อาห ตรัสถามแล้ว อิติ ว่า ภนฺเต นาคเสน ข้าแต่พระนาคเสน ผู้เจริญ ตุมฺเห ท่านทั้งหลาย ภณถ กล่าวอยู่ อิติ ว่า “ตถาคโต พระตถาคต สพฺพญฺญู เป็นพระสัพพัญญู” ดังนี้. ก็ ตุมฺเห ท่านทั้งหลาย ภณถ กล่าวอยู่ ปุน  อีก อิติ ว่า ภิกฺขุสงฺเฆ เมื่อหมู่ภิกษุ สาริปุตฺตโมคฺคลฺลานปมุเข มีพระสารีบุตรและพระโมคคัลลานะเป็นประธาน ตถาคเต อันพระตถาคต ปณามิเต ทรงขับไล่แล้ว สกฺยา เจ้าสักยะทั้งหลาย จาตุเมยฺยกา ผู้อยู่ในเมืองจาตุเมยยะ ด้วย พฺรหฺมา จ พรหม สหฺมปติ ชื่อว่า สหัมปติ ด้วย อุปทสฺเสตฺวา แสดงแนะแล้ว พีชูปมญฺจ ซึ่งเทศนาอันมีพืชเป็นอุปมา ด้วย วจฺฉตรุณูปมญฺจ ซึ่งเทศนามีลูกวัวอ่อนเป็นอุปมา ด้วย ภควนฺตํ ยังพระผู้มีพระภาค ปสาเทสุํ ให้ทรงเลื่อมใส[1] ขมาเปสุํ ให้ทรงอดโทษ อกํสุ ได้กระทำแล้ว ภควนฺตํ ซึ่งพระผู้มีพระภาค นิชฺฌตฺตํ = อปราธสฺส อภาวํ ให้เป็นผู้ไม่มีโทษ[2]. ภนฺเต นาคเสน ข้าแต่พระนาคเสน ผู้เจริญ ตถาคโต พระตถาคต ปสนฺโน ทรงเลื่อมใสแล้ว โอรโต ทรงยินดีแล้ว ขมิโต ทรงพอใจแล้ว อุปสนฺโต ทรงเข้าไปสงบแล้ว คโต ถึงแล้ว นิชฺฌตฺตํ = อปราธสฺส อภาวํ ซึ่งความไม่มีแห่งโทษ ยาหิ อุปมาหิ ด้วยอุปมาทั้งหลายเหล่าใด, ตา อุปมา อุปมาทั้งหลาย เหล่านั้น ตถาคตสฺส = ตถาคเตน อันพระตถาคต อญฺญาตา มิทรงทราบ กิํ นุ โข หรือหนอแล, ภนฺเต นาคเสน ข้าแต่พระนาคเสนผู้เจริญ ยทิ ถ้า ตา อุปมา อุปมาทั้งหลาย เหล่านั้น ตถาคตสฺส = ตถาคเตน อันพระตถาคต อญฺญาตา มิทรงทราบ ไซร้, เตน หิ ถ้าอย่างนั้น พุทฺโธ พระพุทธเจ้า อสพฺพญฺญู ทรงมิใช่พระสัพพัญญู โหติ ย่อมเป็น, ยทิ ถ้า ตา อุปมา อุปมาทั้งหลาย เหล่านั้น ตถาคตสฺส = ตถาคเตน อันพระตถาคต  ญาตา  ทรงทราบ ไซร้, เตน หิ ถ้าอย่างนั้น โส พุทฺโธ พระพุทธเจ้านั้น วีมํสาเปกฺโข เพ่งแต่ความทดลอง[3]  โอกสฺส [4]   กดขี่  ปสยฺห ข่มเหง ปณาเมสิ  ขับไล่,  เตน หิ ถ้าอย่างนั้น อการุญฺญตา ความไม่มีแห่งความกรุณา ตสฺส ตถาคตสฺส ของพระตถาคต สมฺภวติ ย่อมมี.  อยมฺปิ ปญฺโห ปัญหาแม้นี้ โกฏิโก มีเงื่อนงำ อุภโต โดยส่วนสอง อนุปฺปตฺโต ตกถึงแล้ว ตว แก่ท่าน, โส ปญฺโห ปัญหานั้น ตยา ท่าน นิพฺพาหิตพฺโพ พึงคลี่คลาย ดังนี้


‘‘สพฺพญฺญู, มหาราช, ตถาคโต, ตาหิ จ อุปมาหิ ภควา ปสนฺโน โอรโต ขมิโต อุปสนฺโต นิชฺฌตฺตํ คโตฯ ธมฺมสฺสามี, มหาราช, ตถาคโต, ตถาคตปฺปเวทิเตเหว เต โอปมฺเมหิ ตถาคตํ อาราเธสุํ โตเสสุํ ปสาเทสุํ, เตสญฺจ ตถาคโต ปสนฺโน ‘สาธู’ติ อพฺภานุโมทิฯ

นาคเสโน เถโร พระนาคเสนเถระ อาห ทูลตอบแล้ว อิติ ว่า มหาราช มหาบพิตร ตถาคโต พระตถาคต สพฺพญฺญู เป็นพระสัพพัญญู โหติ ย่อมเป็น, ก็ ภควา พระผู้มีพระภาค ปสนฺโน ทรงเลื่อมใสแล้ว โอรโต ทรงยินดีแล้ว ขมิโต ทรงพอใจแล้ว อุปสนฺโต ทรงเข้าไปสงบแล้ว คโต ถึงแล้ว นิชฺฌตฺตํ = อปราธสฺส อภาวํ ซึ่งความไม่มีแห่งโทษ ตาหิ อุปมาหิ ด้วยอุปมาทั้งหลายเหล่านั้น. มหาราช มหาบพิตร ตถาคโต พระตถาคต ธมฺมสฺสามี ผู้เป็นเจ้าของแห่งธรรม[5] โหติ ย่อมเป็น, เต ปุคฺคลา บุคคลทั้งหลายเหล่านั้น ตถาคตํ ยังพระตถาคต อาราเธสุํ ให้ทรงยินดีแล้ว โตเสสุํ ให้ทรงร่าเริงแล้ว ปสาเทสุํ ให้ทรงเลื่อมใสแล้ว โอปมฺเมหิ ด้วยวาจาเป็นเครื่องยังอุปไมยให้ถึงพร้อมทั้งหลาย ตถาคตปฺปเวเทเหว อัน อันพระตถาคตทรงประกาศแล้วนั่นเทียว, ตถาคโต พระตถาคต ก็ ปสนฺโน ทรงเลื่อมใสแล้ว อพฺภานุโมทิ ทรงอนุโมทนายิ่ง เตสํ ต่อบุคคลทั้งหลายเหล่านั้น วจเนน ด้วยคำ อิติ ว่า สาธุ ดีแล้ว ดังนี้ ด้วย.


‘‘ยถา, มหาราช, อิตฺถี สามิกสฺส สนฺตเกเนว ธเนน สามิกํ อาราเธติ โตเสติ ปสาเทติ, ตญฺจ สามิโก ‘สาธู’ติ อพฺภานุโมทติ, เอวเมว โข, มหาราช, จาตุเมยฺยกา จ สกฺยา พฺรหฺมา จ สหมฺปติ ตถาคตปฺปเวทิเตเหว โอปมฺเมหิ ตถาคตํ อาราเธสุํ โตเสสุํ ปสาเทสุํ, เตสญฺจ ตถาคโต ปสนฺโน ‘สาธู’ติ อพฺภานุโมทิฯ

มหาราช มหาบพิตร (หิ) เปรียบเหมือนว่า อิตฺถี สตรี สามิกํ ยังสามี อาราเธติ ย่อมให้ยินดี โตเสติ ย่อมให้ร่าเริง ปสาเทติ ย่อมให้เลื่อมใส ธเนน ด้วยทรัพย์ สนฺตเกเนว อันเป็นของมีอยู่นั่นเทียว สามิกสฺส ของสามี, ก็ สามิโก สามี อพฺภานุโมทติ ย่อมอนุโมทนายิ่ง ตํ อิตฺถิํ ซึ่งสตรีนั้น วจเนน ด้วยคำ อิติ ว่า “สาธุ” ดังนี้ ยถา ฉันใด, มหาราช มหาบพิตร,  เต ปุคฺคลา บุคคลทั้งหลายเหล่านั้น ตถาคตํ ยังพระตถาคต อาราเธสุํ ให้ทรงยินดีแล้ว โตเสสุํ ให้ทรงร่าเริงแล้ว ปสาเทสุํ ให้ทรงเลื่อมใสแล้ว โอปมฺเมหิ ด้วยวาจาเป็นเครื่องยังอุปไมยให้ถึงพร้อมทั้งหลาย ตถาคตปฺปเวเทเหว อัน อันพระตถาคตทรงประกาศแล้วนั่นเทียว, ก็ ตถาคโต พระตถาคต ปสนฺโน ทรงเลื่อมใสแล้ว อพฺภานุโมทิ ทรงอนุโมทนายิ่ง เตสํ ต่อบุคคลทั้งหลายเหล่านั้น วจเนน ด้วยคำ  อิติ ว่า สาธุ ดีแล้ว ดังนี้ ด้วย เอวเมว โข ฉันนั้นนั่นเทียว.


‘‘ยถา วา ปน, มหาราช, กปฺปโก รญฺโญ สนฺตเกเนว สุวณฺณผณเกน รญฺโญ อุตฺตมงฺคํ ปสาธยมาโน ราชานํ อาราเธติ โตเสติ ปสาเทติ, ตสฺส จ ราชา ปสนฺโน ‘สาธู’ติ อพฺภานุโมทติ, ยถิจฺฉิตมนุปฺปเทติ, เอวเมว โข, มหาราช, จาตุเมยฺยกา จ สกฺยา พฺรหฺมา จ สหมฺปติ ตถาคตปฺปเวทิเตเหว โอปมฺเมหิ ตถาคตํ อาราเธสุํ โตเสสุํ ปสาเทสุํ, เตสญฺจ ตถาคโต ปสนฺโน ‘สาธู’ติ อพฺภานุโมทิ.

มหาราช มหาบพิตร ปน ก็ วา หรือว่า กปฺปโก ช่างตัดผม ปสาธยมาโน เมื่อประดับ อุตฺตมงฺคํ ซึ่งพระเศียร รญฺโญ ของพระราชา สุวณฺณผณเกน ด้วยแผ่นทองคำ สนฺตเกเนว อันเป็นของมีอยู่แห่งพระองค์นั่นเทียว รญฺโญ ของพระราชา ราชานํ ยังพระราชา อาราเธติ ย่อมให้ทรงพอพระทัย โตเสติ ย่อมให้ดีใจ ปสาเทติ ย่อมให้เลื่อมใส,  ราชา พระราชา ปสนฺโน ผู้ทรงเลื่อมใสแล้ว ก็ อพฺภานุโมทติ ย่อมทรงอนุโมทนายิ่ง อิติ วจเนน ด้วยคำว่า สาธุ ดีจริง ดังนี้, อนุปฺปเทติ ย่อมพระราชทาน ภณฺฑํ ซึ่งสิ่งของ  กปฺปเกน ยถิจฺฉิตํ อัน - อันช่างกัลบกปรารถนานั่นเทียว - ตามควร, ตสฺส แก่ช่างกัลบกนั้น ด้วย ยถา ฉันใด, มหาราช มหาบพิตร  เต ปุคฺคลา บุคคลทั้งหลายเหล่านั้น ตถาคตํ ยังพระตถาคต อาราเธสุํ ให้ทรงยินดีแล้ว โตเสสุํ ให้ทรงร่าเริงแล้ว ปสาเทสุํ ให้ทรงเลื่อมใสแล้ว โอปมฺเมหิ ด้วยวาจาเป็นเครื่องยังอุปไมยให้ถึงพร้อมทั้งหลาย ตถาคตปฺปเวเทเหว อัน อันพระตถาคตทรงประกาศแล้วนั่นเทียว, ตถาคโต พระตถาคต ก็ ปสนฺโน ทรงเลื่อมใสแล้ว อพฺภานุโมทิ ทรงอนุโมทนายิ่ง เตสํ ต่อบุคคลทั้งหลายเหล่านั้น วจเนน ด้วยคำ  อิติ ว่า สาธุ ดีแล้ว ดังนี้ ด้วย เอวเมว โข ฉันนั้นนั่นเทียว.


‘‘ยถา วา ปน, มหาราช, สทฺธิวิหาริโก อุปชฺฌายาภตํ ปิณฺฑปาตํ คเหตฺวา อุปชฺฌายสฺส อุปนาเมนฺโต อุปชฺฌายํ อาราเธติ โตเสติ ปสาเทติ, ตญฺจ อุปชฺฌาโย ปสนฺโน ‘สาธู’ติ อพฺภานุโมทติ, เอวเมว โข, มหาราช, จาตุเมยฺยกา จ สกฺยา พฺรหฺมา จ สหมฺปติ ตถาคตปฺปเวทิเตเหว โอปมฺเมหิ ตถาคตํ อาราเธสุํ โตเสสุํ ปสาเทสุํ, เตสญฺจ ตถาคโต ปสนฺโน ‘สาธู’ติ อพฺภานุโมทิตฺวา สพฺพทุกฺขปริมุตฺติยา ธมฺมํ เทเสสี’’ติฯ

มหาราช มหาบพิตร ปน ก็ วา หรือว่า สทฺธิวิหาริโก สัทธิวิหาริก คเหตฺวา ถือเอา ปิณฺฑปาตํ ซึ่งบิณฑบาต อุปชฺฌายาภตํ อันเขานำมาเพื่อพระอุปัชฌาย์ อุปนาเมนฺโต น้อมเข้าไปอยู่ อุปชฺฌายสฺส เพื่อพระอุปัชฌาย์ อุปชฺฌายํ ยังพระอุปัชฌาย์ อาราเธติ ย่อมให้ยินดี โตเสติ ย่อมให้ดีใจ ปสาเทติ ย่อมให้เลื่อมใส ยถา ฉันใด, มหาราช มหาบพิตร  เต ปุคฺคลา บุคคลทั้งหลายเหล่านั้น ตถาคตํ ยังพระตถาคต อาราเธสุํ ให้ทรงยินดีแล้ว โตเสสุํ ให้ทรงร่าเริงแล้ว ปสาเทสุํ ให้ทรงเลื่อมใสแล้ว โอปมฺเมหิ ด้วยวาจาเป็นเครื่องยังอุปไมยให้ถึงพร้อมทั้งหลาย ตถาคตปฺปเวเทเหว อัน อันพระตถาคตทรงประกาศแล้วนั่นเทียว, ตถาคโต พระตถาคต ก็ ปสนฺโน ทรงเลื่อมใสแล้ว อพฺภานุโมทิตฺวา ทรงอนุโมทนายิ่งแล้ว เตสํ ต่อบุคคลทั้งหลายเหล่านั้น วจเนน ด้วยคำ  อิติ ว่า สาธุ ดีแล้ว ดังนี้ เทเสสิ ทรงแสดงแล้ว ธมฺมํ ซึ่งธรรม สพฺพทุกฺขปริมุตฺติยา เพื่อความหลุดพ้นจากทุกข์ทั้งปวง เอวเมว โข ฉันนั้นนั่นเทียว.


‘‘สาธุ, ภนฺเต นาคเสน, เอวเมตํ ตถา สมฺปฏิจฺฉามีติฯ

มิลินฺโท ราชา พระเจ้ามิลินท์ อาห ตรัสแล้ว อิติ ว่า ภนฺเต นาคเสน ข้าแต่พระนาคเสนผู้เจริญ สาธุ พระคุณเจ้าวิสัชนาชอบแล้ว, อหํ ข้าพเจ้า สมฺปฏิจฺฉามิ ยอมรับ เอตํ ซึ่งคำนั้น ตถา โดยประการที่พระคุณเจ้ากล่าวมา เอวํ อย่างนี้ ดังนี้

พุทฺธสพฺพญฺญุภาวปญฺโห ทสโมฯ

พุทฺธสพฺพญฺญุภาวปญฺโห ปัญหาว่าด้วยพระสัพพัญญูของพระพุทธเจ้า

ทสโม ลำดับที่สิบ นิฏฺฐิโต จบแล้ว

สพฺพญฺญุตญาณวคฺโค จตุตฺโถฯ

สพฺพญฺญุตญาณวคฺโค กลุ่มปัญหามีสัพพัญญุตญาณปัญหาเป็นที่สุด

จตุตฺโถ ลำดับที่สี่ นิฏฺฐิโต จบแล้ว

อิมสฺมิํ วคฺเค ทส ปญฺหาฯ

ปญฺหา ปัญหาทั้งหลาย ทส สิบ อิมสฺมิํ วคฺเค ในวรรคนี้ (อตฺถิ) มีอยู่

***



[1] คำว่า ทรงเลื่อมใส (ปสนฺนํ, ปสาเทสุํ) ในที่นี้ เป็นคำพูดโดยอ้อม ที่แท้แล้ว หมายเอา ความที่พระองค์ไม่ทรงถือเอาโทษ ต่อภิกษุทั้งหลายเหล่านั้น เพราะคำทูลอาราธนาด้วยอุปมาสองประการนั้น

[2]นิชฺฌตฺต คือ ขอให้พระองค์งดโทษ คัมภีร์มิลินทปัญหาอรรถกถา อรรถาธิบายว่านิชฺฌตฺต ศัพท์ มีความหมายตามศัพท์ว่า สภาวะอันพึงเห็น มาจาก นิ + ฌตฺต (ฌตฺต มาจาก ฌ (ฌา = เพ่ง,รู้ + ณ ในอรรถกรรม) + อตฺต ศัพท์ ที่มีความหมายว่า สภาว, มีวิเคราะห์ว่า  ฌายิตฺพพํ อตฺตํ ฌตฺตํ, สภาวะอันพึงเห็น ชื่อว่า ฌตฺตํ ความหมายคือ ปสฺสิตพฺโพ สภาโว สภาพที่พึงเห็น, สภาพที่พึงเห็น ได้แก่ ความไม่มีโทษ, ฌตฺตสฺส อภาโว นิฌตฺตํ ความไม่มีแห่งฌัตตะ คือ ความผิด ชื่อว่า นิฌตฺต, นิฌตฺต นั่นเอง ใช้เป็น นิชฺฌตฺตํ, ความหมายคือ ได้กระทำแล้ว ซึ่งความไม่มีโทษ (ข้อความบาลีในอรรถกถานั้นว่า โก โส, อปราโธ, ฌตฺตสฺส อภาโว นิฌตฺตํ, นิฌตฺตเมว นิชฺฌตฺตํ, อปราธสฺส อภาวํ อกสํสูติ อตฺโถฯมิลินฺท.อฏฺ.)

[3] วีมํสาเปกฺโข (วีมํสา + อเปกฺข) วีมํสา ใคร่ครวญ, คิด, พิจารณา, เทียบเคียง (มาน มานเน เปรียบเทียบ ยกขึ้น+ สา ภาวสาธนะ  ที่มานธาตุ ให้เทฺวภาวะ ม เป็น มมาน แปลง มฺ ตัวหน้าเป็น วฺ  แปลง อ เป็น อี (บางทีเป็น อิ) นิคคหิตอาคม) แปลตามศัพท์ว่า เพ่งแต่ความทดลอง วีมํสา ศัพท์ ในที่นี้คิดว่า มีอรรถ จินฺตนา ความคิด (ดู ที.อฏฺ.ฏี.๒/๑๕๙ วีมํสาติ จินฺตนา ตามบริบทนี้ว่า  กเถตฺวา ปกฺกกนฺเต ปน ภควติ ปุน ราชานํ อาคตํ ทิสฺวา “โก นุโข ภยนฺติ วีมํสา อุปฺปชฺชติ (ที.อฏฺ.๒/๑๕๐) เมื่อพระผู้มีพระภาคตรัสเช่นนี้แล้วเสด็จไป เห็นแล้ว ซึ่งพระราชาผู้กลับมาอีก จึงคิดว่า จะมีอันตรายใดๆหรือหนอ ดังนี้. ด้วยความหมายนี้ พระเจ้ามิลินท์ทรงดำริว่า พระพุทธองค์ทรงเป็นผู้คิดตามพระทัย  จึงข่มเหงโดยพลการ ขับไล่ภิกษุเหล่านั้น. อนึ่ง มิลินทปัญหานิสสยะ ล้านนา  แปลว่า “ไม่ทรงพิจารณาดูคุณและโทษ” เมื่อถือเอาคำแปลและความหมายเช่นนี้ ปาฐะควรเป็น วีมํสานเปกฺโข (วีมํสา + อนเปกฺข) แต่อย่างไรก็ตาม ความหมายนี้น่าพิจารณาเช่นกัน เพราะบริบทบ่งถึงความที่พระเจ้ามิลินท์ทรงดำริว่า พระพุทธเจ้าทรงไม่คำนึง ตริตรองตามเหตุผล เอาแต่พระทัยของพระองค์เองแล้วขับไล่ภิกษุเหล่านั้นตามกำลัง

[4] โอกฺกสฺส มาจาก อว + กส + ตฺวา ใช้เป็นกิริยาวิเสสนะ (หรือเป็นปุพพกาลกิริยา) แปลตามศัพท์ ว่า ฉุด, คร่า, ในบาฬีสองศัพท์นี้มาเป็นศัพท์พวงที่ส่องความหมายว่า ขืนใจ, บังคับ, ใช้กำลัง, หรือกระทำโดยพลการ, ข่มเหง เช่น อญฺโญปิ   อจฺฉริโย   อพฺภุโต   ธมฺโม   อิธ  เม  ภนฺเต นนฺโท   นาม   เอกปุตฺตโก   ปิโย  มนาโป  ตํ  ราชาโน  กิสฺมิญฺจิเทว การเณ     โอกฺกสฺส  ปสยฺห  ชีวิตา  โวโรเปสุํ ดิฉันมีบุตรน้อยอยู่คนหนึ่งชื่อนันทะ เป็นที่รัก เป็นที่ชอบใจพระราชาได้ข่มขี่ปลงเธอเสียจากชีวิตในเพราะเหตุเพียงนิดหน่อย (อํ.สตฺตก.๒๓/๕๐) และพระบาฬีนี้ว่า ตา น โอกฺกสฺส น ปสยฺห วาเสนฺติ พวกเจ้าวัชชีจักไม่ฉุดคร่าขืนใจสตรีหรือกุมารีในสกุล ให้ อยู่ร่วมด้วยอยู่. คัมภีร์อรรถกถาทีฆนิกายอธิบายว่า โอกฺกสฺส ปสยฺหาติ เอตฺถ “โอสกฺกสฺสา”ติ วา ปสยฺหาติ วา ปสยฺหาการสฺเสเวตํ นามํ. “อุกฺกสฺสา”ติปิ ปฐนฺติ. ตตฺถ โอกฺกสฺสาติ อวกสฺสิตฺวา อากฑฺฒิตฺวา. (ที.อฏฺ.๒/๑๑๐,อํ.อฏฺฐ.๓/๑๕๓). พจนานุกรมฉบับภูมิพโลภิกขุ อรรถาธิบายว่า ดึงลง,ดึงหรือฉุดกระชากไป,ทำให้หันเห, เคลื่อนไป, ใช้เฉพาะในตูนาทิ ปัจจัย  โอกสฺส, รวมกันกับ  ปสยฺห  เสมอ "การย้ายออกด้วยกำลัง".

[5] ธมฺมสฺสามี เป็นคำวิเศษน์ ใช้เฉพาะพระพุทธองค์ ความหมายคือ เจ้าของธรรม อีกนัยหนึ่ง ทรงเป็นใหญ่เพราะธรรม

วันพฤหัสบดีที่ 14 พฤศจิกายน พ.ศ. 2567

๔๙. อรหันตอภายนปัญหา ปัญหาว่าด้วยความไม่กลัวแห่งพระอรหันต์

 

๙. อรหนฺตอภายนปญฺโห

ปัญหาว่าด้วยความไม่กลัวแห่งพระอรหันต์

. ‘‘ภนฺเต นาคเสน, ภาสิตมฺเปตํ ภควตาวิคตภยสนฺตาสา อรหนฺโตติฯ ปุน จ นคเร ราชคเห ธนปาลกํ หตฺถิํ ภควติ โอปตนฺตํ ทิสฺวา ปญฺจ ขีณาสวสตานิ ปริจฺจชิตฺวา ชินวรํ ปกฺกนฺตานิ ทิสาวิทิสํ เอกํ ฐเปตฺวา เถรํ อานนฺทํฯ กิํ นุ โข, ภนฺเต นาคเสน, เต อรหนฺโต ภยา ปกฺกนฺตา, ปญฺญายิสฺสติ สเกน กมฺเมนาติ ทสพลํ ปาเตตุกามา ปกฺกนฺตา, อุทาหุ ตถาคตสฺส อตุลํ วิปุลมสมํ ปาฏิหาริยํ ทฏฺฐุกามา ปกฺกนฺตา?

มิลินฺโท ราชา พระเจ้ามิลินท์ อาห ตรัสถามแล้ว อิติ ว่า ภนฺเต นาคเสน ข้าแต่พระนาคเสนผู้เจริญ, เอตํ วจนํ  พระดำรัสนี้ ภควตา อันพระผู้มีพระภาค ภาสิตมฺปิ แม้ทรงภาษิตไว้ อิติ ว่า อรหนฺโต พระอรหันต์ทั้งหลาย วิคตภยสนฺตาสา มีความกลัวและความพรั่นพรึงไปปราศแล้ว ดังนี้, ปุน จ และมีอีกเรื่องหนึ่ง นคเร ในพระนคร ราชคเห ชื่อราชคฤห์ ขีณาสวสตานิ ร้อยแห่งพระขีณาสพทั้งหลาย ปญฺจ ห้า ทิสฺวา เห็นแล้ว หตฺถิํ ซึ่งช้าง ธนปาลกํ ชื่อ ธนปาลกะ[1] โอปตนฺตํ ถลำเข้าไปอยู่ ภควติ ใกล้พระผู้มีพระภาค ปริจฺจชิตฺวา ทิ้งแล้ว ชินวรํ ซึ่งพระชินวรพุทธเจ้า ปกฺกนฺตานิ หลีกไปแล้ว ทิสาวิทิสํ สู่ทิศใหญ่และทิศน้อย ฐเปตฺวา เว้น เถรํ ซึ่งพระเถระ อานนฺทํ ชื่อพระอานนท์ เอกํ รูปเดียว. ภนฺเต นาคเสน ข้าแต่พระนาคเสนผู้เจริญ เต อรหนฺโต พระอรหันต์ทั้งหลาเยหล่านั้น ปกฺกนฺตา หลีกไปแล้ว ภยา เพราะกลัว กิํ นุ โข หรือหนอแล, ปาเตตุกามา ประสงค์เพื่อ - ทสพลํ ทำพระทศพล - ให้ทรงล้มไป [2]จินฺตเนน ด้วยคิดว่า ภควา พระผู้มีมีพระภาค ปญฺญายิสฺสติ จักปรากฏ กมฺเมน ด้วยกรรม สเกน อันเป็นของตน[3] ดังนี้ ปกฺกนฺตา เป็นผู้หลีกไปแล้ว (โหนฺติ) ย่อมเป็น, อุทาหุ หรือว่า ทฏฺฐุกามา เป็นผู้ใคร่เพื่อเห็น ปาฏิหาริยํ ซึ่งปาฏิหาริย์ อตุลํ อันหาที่เปรียบปานมิได้ วิปุลํ อันไพบูลย์ อสมํ หาผู้เสมอมิได้ ตถาคตสฺส ของพระตถาคต ปกฺกนฺตา เป็นผู้หลีกไปแล้ว (โหนฺติ) ย่อมเป็น ?

 

ยทิ, ภนฺเต นาคเสน, ภควตา ภณิตํวิคตภยสนฺตาสา อรหนฺโตติ, เตน หิ นคเรเป.อานนฺทนฺติ ยํ วจนํ ตํ มิจฺฉาฯ ยทิ นคเร ราชคเห ธนปาลกํ หตฺถิํ ภควติ โอปตนฺตํ ทิสฺวา ปญฺจ ขีณาสวสตานิ ปริจฺจชิตฺวา ชินวรํ ปกฺกนฺตานิ ทิสาวิทิสํ เอกํ ฐเปตฺวา เถรํ อานนฺทํ, เตน หิ วิคตภยสนฺตาสา อรหนฺโตติ ตมฺปิ วจนํ มิจฺฉาฯ

ภนฺเต นาคเสน ข้าแต่พระนาคเสนผู้เจริญ ยทิ ถ้า เอตมฺปิ วจนํ คำแม้นั้น ภควตา อันพระผู้มีพระภาค ภณิตํ ตรัสไว้แล้ว อิติ ว่า อรหนฺโต พระอรหันต์ทั้งหลาย วิคตภยสนฺตาสา มีความกลัวและความพรั่นพรึงไปปราศแล้ว ดังนี้ จริงไซร้, เตน หิ ถ้าอย่างนั้น ยํ วจนํ คำใด ตุมฺเหหิ อันท่าน ภณิตํ กล่าวว่า นคเร ที่พระนคร ราชคเห ชื่อราชคฤห์ ขีณาสวสตานิ ร้อยแห่งพระขีณาสพทั้งหลาย ปญฺจ ห้า ทิสฺวา เห็นแล้ว หตฺถิํ ซึ่งช้าง ธนปาลกํ ชื่อ ธนปาลกะ โอปตนฺตํ ซึ่งแล่นถลาไป ภควติ ใกล้พระผู้มีพระภาค ปริจฺจชิตฺวา ทิ้งแล้ว ชินวรํ ซึ่งพระชินวรพุทธเจ้า ปกฺกนฺตานิ หลีกไปแล้ว ทิสาวิทิสํ สู่ทิศใหญ่และทิศน้อย ฐเปตฺวา เว้น  อานนฺทํ เถรํ ซึ่งพระอานันทเถระ เอกํ รูปเดียว ดังนี้,  ตํ วจนํ คำนั้น มิจฺฉา ผิดฯ

ยทิ ถ้า นคเร ที่พระนคร ราชคเห ชื่อราชคฤห์ ขีณาสวสตานิ ร้อยแห่งพระขีณาสพทั้งหลาย ปญฺจ ห้า ทิสฺวา เห็นแล้ว หตฺถิํ ซึ่งช้าง ธนปาลกํ ชื่อ ธนปาลกะ โอปตนฺตํ กำลังแล่นถลาไป ภควติ ใกล้ พระผู้มีพระภาค ปริจฺจชิตฺวา ทิ้งแล้ว ชินวรํ ซึ่งพระชินวรพุทธเจ้า ปกฺกนฺตานิ หลีกไปแล้ว ทิสาวิทิสํ สู่ทิศใหญ่และทิศน้อย ฐเปตฺวา เว้น  อานนฺทํ เถรํ ซึ่งพระอานันทเถระ เอกํ รูปเดียว ดังนี้ จริงไซร้, เตน หิ ถ้าอย่างนั้น ตมฺปิ วจนํ คำแม้นั้น อิติ ว่า อรหนฺโต พระอรหันต์ทั้งหลาย วิคตภยสนฺตาสา มีความกลัวและความพรั่นพรึงไปปราศแล้ว ดังนี้ มิจฺฉา ผิด.

 

อยมฺปิ อุภโต โกฏิโก ปญฺโห ตวานุปฺปตฺโต, โส ตยา นิพฺพาหิตพฺโพ’’ติฯ

อยมฺปิ ปญฺโห ปัญหาแม้นี้ โกฏิโก มีเงื่อนงำ อุภโต โดยส่วนสอง อนุปฺปตฺโต ตกถึงแล้ว ตว แก่ท่าน, โส ปญฺโห ปัญหานั้น ตยา ท่าน นิพฺพาหิตพฺโพ พึงคลี่คลาย ดังนี้

 

‘‘ภาสิตมฺเปตํ, มหาราช, ภควตา วิคตภยสนฺตาสา อรหนฺโตติ, นคเร ราชคเห ธนปาลกํ หตฺถิํ ภควติ โอปตนฺตํ ทิสฺวา ปญฺจ ขีณาสวสตานิ ปริจฺจชิตฺวา ชินวรํ ปกฺกนฺตานิ ทิสาวิทิสํ เอกํ ฐเปตฺวา เถรํ อานนฺทํ, ตญฺจ ปน น ภยา, นาปิ ภควนฺตํ ปาเตตุกามตายฯ

นาคเสโน เถโร พระนาคเสนเถระ อาห ทูลตอบแล้ว อิติ ว่า มหาราช มหาบพิตร เอตํ วจนํ พระดำรัสแม้นี้ ภควตา อันพระผู้มีพระภาค ภาสิตมฺปิ ก็ตรัสแล้ว อิติ ว่า อรหนฺโต พระอรหันต์ทั้งหลาย วิคตภยสนฺตาสา มีความกลัวและความพรั่นพรึงไปปราศแล้ว ดังนี้ จริง, (ยํ วจนํ) คำใด อิติ ว่า นคเร ที่พระนคร ราชคเห ชื่อราชคฤห์ ขีณาสวสตานิ ร้อยแห่งพระขีณาสพทั้งหลาย ปญฺจ ห้า ทิสฺวา เห็นแล้ว หตฺถิํ ซึ่งช้าง ธนปาลกํ ชื่อ ธนปาลกะ โอปตนฺตํ กำลังแล่นถลาไป ภควติ ใกล้พระผู้มีพระภาค ปริจฺจชิตฺวา ทิ้งแล้ว ชินวรํ ซึ่งพระชินวรพุทธเจ้า ปกฺกนฺตานิ หลีกไปแล้ว ทิสาวิทิสํ สู่ทิศใหญ่และทิศน้อย ฐเปตฺวา เว้น  อานนฺทํ เถรํ ซึ่งพระอานันทเถระ เอกํ รูปเดียว ดังนี้, ตํ วจนํ คำนั้น โหติ มีจริง ดังนี้. จ ปน ก็แล ตํ ปกฺกมนํ การหลีกไป อรหนฺตานํ แห่งพระอรหันต์ทั้งหลาย นั้น โหติ ย่อมมี ภยา เพราะความกลัว ก็หามิได้, ตํ ปกฺกมนํ การหลีกไปนั้น โหติ ย่อมมี ปาเตตุกามตาย เพราะความที่ – อรหนฺตานํ แห่งพระอรหันต์ทั้งหลายเหล่านั้น ประสงค์เพื่อ - ภควนฺตํ ยังพระผู้มีพระภาค - ให้ล้มไป นาปิ ก็หามิได้.

 

‘‘เยน ปน, มหาราช, เหตุนา อรหนฺโต ภาเยยฺยุํ วา ตาเสยฺยุํ วา, โส เหตุ อรหนฺตานํ สมุจฺฉินฺโน, ตสฺมา วิคตภยสนฺตาสา อรหนฺโต, ภายติ นุ, มหาราช, มหาปถวี ขณนฺเตปิ ภินฺทนฺเตปิ ธาเรนฺเตปิ สมุทฺทปพฺพตคิริสิขเรติ?

มหาราช มหาบพิตร ปน ก็ อรหนฺโต พระอรหันต์ทั้งหลาย ภาเยยฺยุํ วา พึงกลัว บ้าง ตาเสยฺยุํ พึงพรั่นพรึง ก็ดี เยน เหตุนา เพราะเหตุใด, โส เหตุ เหตุนั้น อรหนฺตานํ แห่งพระอรหันต์ทั้งหลาย สมุจฺฉินฺโน ขาดสิ้นแล้ว[4] ตสฺมา เพราะเหตุนั้น อรหนฺโต พระอรหันต์ทั้งหลาย วิคตภยสนฺตาสา มีความกลัวและความพรั่นพรึงไปปราศแล้ว, มหาราช มหาบพิตร สมุทฺทปพฺพตคิริสิขเร เมื่อมหาสมุทร ภูเขา ยอดเขา ขณนฺเตปิ ถูกขุดอยู่ ก็ตาม ภินฺทนฺเตปิ ถูกเจาะอยู่ก็ตาม ธาเรนฺเตปิ ถูกทุบอยู่ ก็ตาม[5] มหาปถวี แผ่นดินใหญ่ ภายติ ย่อมกลัว นุ หรือ ดังนี้.

 

‘‘น หิ, ภนฺเต’’ติฯ

มิลินฺโท ราชา พระเจ้ามิลินท์ อาห รับแล้ว อิติ ว่า ภนฺเต ข้าแต่ท่านผู้เจริญ มหาปถวี แผ่นดินใหญ่ ภายติ ย่อมกลัว หามิได้ ดังนี้

 

‘‘เกน การเณน มหาราชา’’ติ?

นาคเสโน เถโร พระนาคเสนเถระ อาห ทูลถามแล้ว อิติ ว่า มหาราช มหาบพิตร มหาปถวี แผ่นดินใหญ่ ภายติ ย่อมไม่กลัว การเณน เพราะเหตุ เกน อะไร ดังนี้.

 

‘‘นตฺถิ, ภนฺเต, มหาปถวิยา โส เหตุ, เยน เหตุนา มหาปถวี ภาเยยฺย วา ตาเสยฺย วา’’ติฯ

มิลินฺโท ราชา พระเจ้ามิลินท์ อาห รับแล้ว อิติ ว่า ภนฺเต ข้าแต่ท่านผู้เจริญ มหาปถวี แผ่นดินใหญ่ ภาเยยฺย พึงกลัว วา ก็ตาม ตาเสยฺย วา พึงพรั่นพรึง ก็ตาม เยน เหตุนา เพราะเหตุใด, โส เหตุ เหตุนั้น มหาปถวิยา แห่งแผ่นดินใหญ่ นตฺถิ ย่อมไม่มี ดังนี้.

 

‘‘เอวเมว โข, มหาราช, นตฺถิ อรหนฺตานํ โส เหตุ, เยน เหตุนา อรหนฺโต ภาเยยฺยุํ วา ตาเสยฺยุํ วาฯ

นาคเสโน เถโร พระนาคเสนเถระ อาห ทูลแล้ว อิติ ว่า มหาราช มหาบพิตร (สมฺปทมิทํ เวทิตพฺพํ) คำเป็นเครื่องยังอุปมาให้ถึงพร้อมนี้ ตยา อันมหาบพิตร พึงทราบ เอวเมว ฉันนั้นนั่นเทียว, อรหนฺโต พระอรหันต์ ภาเยยฺยุํ พึงกล้ว วา ก็ตาม ตาเสยฺยุํ พึงพรั่นพรึง วา ก็ตาม เยน เหตุนา เพราะเหตุใด โส เหตุ เหตุนั้น อรหนฺตานํ ของพระอรหันต์ทั้งหลาย นตฺถิ ย่อมไม่มี ดังนี้

 

‘‘ภายติ นุ, มหาราช, คิริสิขรํ ฉินฺทนฺเต วา ภินฺทนฺเต วา ปตนฺเต วา อคฺคินา ทหนฺเต วา’’ติ?

มหาราช มหาบพิตร ปุคฺคเล เมื่อบุคคล ฉินฺทนฺเต วา ตัดอยู่ ก็ตาม ปตนฺเต วา ผลักอยู่ ก็ตาม ทหนฺเต วา ก็หรือว่า เผาอยู่ อคฺคินา ด้วยไฟ คิริสิขรํ  ยอดแห่งภูเขา ภายติ ย่อมกลัว นุ หรือไม่ ดังนี้

 

‘‘น หิ, ภนฺเต’’ติฯ

มิลินฺโท ราชา พระเจ้ามิลินท์ อาห รับแล้ว อิติ ว่า ภนฺเต ข้าแต่ท่านผู้เจริญ มหาปถวี แผ่นดินใหญ่ ภายติ ย่อมกลัว หามิได้ ดังนี้

 

‘‘เกน การเณน มหาราชา’’ติ?

นาคเสโน เถโร พระนาคเสนเถระ อาห ทูลถามแล้ว อิติ ว่า มหาราช มหาบพิตร มหาปถวี แผ่นดินใหญ่ ภายติ ย่อมไม่กลัว การเณน เพราะเหตุ เกน อะไร ดังนี้.

‘‘นตฺถิ, ภนฺเต, คิริสิขรสฺส โส เหตุ, เยน เหตุนา คิริสิขรํ ภาเยยฺย วา ตาเสยฺย วา’’ติฯ

มิลินฺโท ราชา พระเจ้ามิลินท์ อาห รับแล้ว อิติ ว่า ภนฺเต ข้าแต่ท่านผู้เจริญ คิริสิขรํ ยอดแห่งภูเขา ภาเยยฺย พึงกลัว วา ก็ตาม ตาเสยฺย วา พึงพรั่นพรึง ก็ตาม เยน เหตุนา เพราะเหตุใด, โส เหตุ เหตุนั้น คิริสิขรสฺส แห่งยอดเขา นตฺถิ ย่อมไม่มี ดังนี้.

 

‘‘เอวเมว โข, มหาราช, นตฺถิ อรหนฺตานํ โส เหตุ, เยน เหตุนา อรหนฺโต ภาเยยฺยุํ วา ตาเสยฺยุํ วาฯ

นาคเสโน เถโร พระนาคเสนเถระ อาห ทูลแล้ว อิติ ว่า มหาราช มหาบพิตร (สมฺปทมิทํ) คำเป็นเครื่องยังอุปมาให้ถึงพร้อมนี้ (ตยา) อันมหาบพิตร (เวทิตพฺพํ) พึงทราบ เอวเมว ฉันนั้นนั่นเทียว, อรหนฺโต พระอรหันต์ ภาเยยฺยุํ พึงกลัว วา หรือ ตาเสยฺยุํ พึงพรั่นพรึง เยน เหตุนา เพราะเหตุใด โส เหตุ เหตุนั้น อรหนฺตานํ ของพระอรหันต์ทั้งหลาย นตฺถิ ย่อมไม่มี ดังนี้

 

‘‘ยทิปิ, มหาราช, โลกธาตุสตสหสฺเสสุ เย เกจิ สตฺตนิกายปริยาปนฺนา สพฺเพปิ เต สตฺติหตฺถา เอกํ อรหนฺตํ อุปธาวิตฺวา ตาเสยฺยุํ, น ภเวยฺย อรหโต จิตฺตสฺส กิญฺจิ อญฺญถตฺตํฯ กิํ การณํ? อฏฺฐานมนวกาสตายฯ

มหาราช มหาบพิตร ยทิปิ แม้ถ้า โลกธาตุสตสหสฺเสสุ ในแสนโลกธาตุทั้งหลาย สตฺตนิกายปริยาปนฺนา สัตว์ผู้นับเนื่องในสัตวนิกายทั้งหลาย เย เกจิ เหล่าใดเหล่าหนึ่ง อตฺถิ มีอยู่, สพฺเพปิ เต สตฺตา สัตว์ทั้งหลายเหล่านั้น แม้ทั้งปวง สตฺติหตฺถา มีหอกหลาวในมือ อุปธาวิตฺวา วิ่งตรงไป[6] อรหนฺตํ สู่พระอรหันต์ เอกํ รูปหนึ่ง ตาเสยฺยุํ แล้วพึงให้พรั่นพรึง, อญฺญถตฺตํ ความเป็นโดยประการอื่น กิญฺจิ เล็กน้อย จิตฺตสฺส แห่งจิต อรหโต ของพระอรหันต์ น ภเวยฺย ไม่พึงมี. (อนญฺญตฺถตฺตํ) ความไม่เป็นโดยประการอื่น (ภเวยฺย) พึงมี กิํ การณํ เพราะเหตุอะไร ?, อฏฺฐานมนวกาสตาย เพราะความที่ - (จิตฺตสฺส) แห่งจิต (อรหนฺตานํ) ของพระอรหันต์ทั้งหลาย (วิคตภยสนฺตาสานํ) ผู้มีความกลัวและความพรั่นพรึงไปปราศแล้ว - ไม่ใช่เหตุและไม่ใช่ที่ตั้ง (ภยสฺส) แห่งความกลัว[7].

 

 ‘‘อปิ จ, มหาราช, เตสํ ขีณาสวานํ เอวํ เจโตปริวิตกฺโก อโหสิอชฺช นรวรปวเร ชินวรวสเภ นครวรมนุปฺปวิฏฺเฐ วีถิยา ธนปาลโก หตฺถี อาปติสฺสติ, อสํสยมติเทวเทวํ อุปฏฺฐาโก น ปริจฺจชิสฺสติ, ยทิ มยํ สพฺเพปิ ภควนฺตํ น ปริจฺจชิสฺสาม, อานนฺทสฺส คุโณ ปากโฏ น ภวิสฺสติ( [8]), น เหว จ ตถาคตํ สมุปคมิสฺสติ หตฺถินาโค, หนฺท มยํ อปคจฺฉาม, เอวมิทํ มหโต ชนกายสฺส กิเลสพนฺธนโมกฺโข ภวิสฺสติ, อานนฺทสฺส จ คุโณ ปากโฏ ภวิสฺสตีติฯ เอวํ เต อรหนฺโต อานิสํสํ ทิสฺวา ทิสาวิทิสํ ปกฺกนฺตา’’ติฯ

 

มหาราช มหาบพิตร อปิ จ อีกประการหนึ่ง เจโตปริวิตกฺโก ความคิด ขีณาสวานํ แห่งพระขีณาสพทั้งหลาย เตสํ เหล่านั้น อโหสิ ได้มีแล้ว เอวํ อย่างนี้ อิติ ว่า อชฺช วันนี้ (พุทฺเธ) เมื่อพระพุทธเจ้า นรวรปวเร ทรงประเสริฐยิ่งแห่งชนผู้ประเสริฐ ชินวรวสเภ องค์ชินวรผู้ประเสริฐ อนุปฺปวิฏฺเฐ เสด็จเข้าไปตามลำดับ นครวรํ (ราชคหํ) สู่เมืองราชคฤห์ อันเป็นนครประเสริฐ หตฺถี ช้าง ธนปาลโก ชื่อธนปาลกะ อาปติสฺสติ จักวิ่งถลาลง วีถิยา ที่ถนน, อุปฏฺฐาโก พระอุปัฏฐาก (พระอานันทเถระ) น ปริจฺจชิสฺสติ จักไม่ทอดทิ้ง (ภควนฺตํ) ซึ่งพระผู้มีพระภาค อติเทวทวํ ผู้ทรงเป็นเทพยิ่งแห่งเหล่าเทพ อสํสยํ อย่างไม่สงสัย, ยทิ ถ้าว่า มยํ เราทั้งหลาย สพฺเพปิ แม้ทั้งปวง น ปริจฺจชิสฺสาม จักไม่ทอดทิ้ง  ภควนฺตํ ซึ่งพระผู้มีพระภาคไซร้, คุโณ คุณ อานนฺทสฺส ของพระอานันทเถระ ปากโฏ เป็นคุณอันปรากฏแล้ว น ภวิสฺสติ จักไม่มี, หิ อนึ่ง หตฺถินาโค ช้างตัวประเสริฐ น สมุปคมิสฺสติ จักไม่เข้าถึง ตถาคตํ ซึ่งพระตถาคต เอว แน่นอน, หนฺท เอาเถิด มยํ พวกเรา อปคจฺฉาม จะหลีกไป, เอวมิทํ = (ยถา มหโต ชนกายสฺส กิเลสพนฺธนโมกฺโข ภวิสฺสติ, เอวํ อิทํ อมฺหากํ อปคมนํ กิเลสพนฺธนโมกฺขตฺถาย ภวิสฺสติ) กิเลสพนฺธนโมกฺโข ความหลุดพ้นจากเครื่องผูกคือกิเลส ชนกายสฺส แห่งหมู่ชน มหโต หมู่ใหญ่ ภวิสฺสติ จักมี (ยถา) โดยประการใด, (อมฺหากํ อปคมนํ) การหลีกไปแห่งเราทั้งหลาย อิทํ นี้ (ภวิสฺสติ) จักมี (กิเลสพนฺธนโมกฺขตฺถํ) เพื่อความหลุดพ้นจากเครื่องผูกคือกิเลส เอวํ โดยประการนั้น ด้วย, คุโณ คุณ อานนฺทสฺส ของพระอานันทเถระ ปากโฏ  เป็นคุณอันปรากฏแล้ว ภวิสฺสติ จักเป็น ด้วย ดังนี้. อรหนฺโต พระอรหันต์ทั้งหลาย ทิสฺวา เห็นแล้ว อานิสํสํ ซึ่งอานิสงส์ เอวํ อย่างนี้ ปกฺกนฺตา จึงเป็นผู้หลีกไปแล้ว ทิสาวิทิสํ สู่ทิศน้อยและทิศใหญ่ โหนฺติ ย่อมเป็น ดังนี้[9]

 

‘‘สุวิภตฺโต, ภนฺเต นาคเสน, ปญฺโห, เอวเมตํ นตฺถิ อรหนฺตานํ ภยํ วา สนฺตาโส วา, อานิสํสํ ทิสฺวา อรหนฺโต ปกฺกนฺตา ทิสาวิทิส’’นฺติฯ

มิลินฺโท ราชา พระเจ้ามิลินท์ อาห ตรัสแล้ว อิติ ว่า ภนฺเต นาคเสน ข้าแต่พระนาคเสนผู้เจริญ ปญฺโห ปัญหา ตยา อันท่าน สุวิภตฺโต จำแนกดีแล้ว, ภยํ วา ความกลัว ก็ตาม สนฺตาโส วา ความพรั่นพรึง ก็ตาม อรหนฺตานํ แห่งพระอรหันต์ทั้งหลาย นตฺถิ ย่อมไม่มี ยํ ใด, เอตํ (อรหนฺตานํ ภยสนฺตาสานํ นตฺถิตํ) ความไม่มีแห่งความกลัวและความพรั่นพรึงของพระอรหันต์นี้ เอวํ เป็นอย่างนี้,  อรหนฺโต พระอรหันต์ทั้งหลาย ทิสฺวา เห็นแล้ว อานิสํสํ ซึ่งอานิสงส์ ปกฺกนฺตา เป็นผู้หลีกไปแล้ว ทิสาวิทิสํ สู่ทิศใหญ่และทิศน้อย โหนฺติ ย่อมเป็น ดังนี้[10]

 

อรหนฺตอภายนปญฺโห นวโมฯ

อรหนฺตอภายนปญฺโห ปัญหาว่าด้วยความไม่กลัวแห่งพระอรหันต์

นวโม ลำดับที่เก้า นิฏฺฐิโต จบแล้ว



[1] ช้างธนปาลกะ คือ ช้างหลวง ที่ชื่อว่า นาฬาคิรี ของพระเจ้าอชาตศัตรู

[2] ความหมายคือ ต้องการให้พระทศพลให้ทรงล้มไป เพราะถูกช้างธนปาลกะชน. ปาเตตุ ในคำว่า ปาเตตุกาม มาจาก ปต ธาตุ มีอรรถ คติ = ไป,ตก, ล้ม + เณ + ตุํ  เป็นเหตุกัตตุวาจก. ปต ธาตุ เป็นทวิคณกธาตุ คือ ภูวาทิ และ จุราทิ ถ้าเป็นจุราทิ ในเหตุกัตตุวาจากเป็นรูปว่า ควรเป็น ปาตยิตุกามา ส่วนในที่นี้เป็น ภูวาทิ จึงมีรูป ปาเตตุํ.

[3] คือ คิดว่า ถ้าหากช้างสามารถทำอันตรายต่อพระองค์ได้ ก็เป็นอันปรากฏว่า ถึงคราวที่พระองค์จะต้องรับผลของกรรมที่ทรงทำไว้ในอดีต ถ้าหากช้างไม่สามารถจะทำอันตรายได้ ก็เป็นอันปรากฏว่า พระองค์มิได้ทรงทำกรรมเห็นปานนี้ ไว้ในอดีต

[4] อีกนัยหนึ่ง อรหนฺตานํ = อรหนฺเตหิ อันพระอรหันต์ทั้งหลาย สมุจฺฉินฺโน ตัดขาดด้วยดีแล้ว

[5] กรณีนี้เป็นการแสดงโดยยถาลาภนัย ความจริง มหาสมุทรเท่านั้น ที่ถูกขุด จะถูกเจาะให้เป็นช่องก็หาไม่ แม้ภูเขาเท่านั้น ที่ถูกเจาะให้เป็นช่อง หาได้ถูกขุดและทะลายไปไม่ แม้ยอดเขาเท่านั้น ถูกทุบอยู่

[6] อีกนัยหนึ่ง อุปธาวิตฺวา ล้อมแล้ว อรหนฺตํ ซึ่งพระอรหันต์ เอกํ รูปหนึ่ง

[7] ปาฐะฉบับไทยเป็น กิํ การณํ? อรหนฺตานํ วิคตภยสนฺตาสเหตุโต. ตามปาฐะนี้ แปลว่า กิํ การณา เพราะเหตุอะไร? วิคตภยสนฺตาสเหตุโต เพราะความที่ - อรหนฺตานํ แห่งพระอรหันต์ทั้งหลาย - มีความกลัวและความพรั่นพรึงไปปราศแล้วเป็นเหตุ. ในที่นี้ เหตุ ศัพท์ในคำว่า วิภคตภยสนฺตาสเหตุโต เป็นภาวปธาน

[8] ในวงเล็บ ปาฐะฉบับไทย (ฉบับ พศ. ๒๕๓๖ คณะสงฆ์และมหาเถรสมาคมจัดพิมพ์เนื่องในโอกาสเจริญพระชนมายุครบ ๘๐ พรรษา ของสมเด็จพระญาณสังวร สมเด็จพระสังฆราช สกลมหาสังฆปริณายก (สุวฑฺฒน) ) มีข้อความว่า น หิ ตตฺถ กถาสมุปฺปตฺติ ภวิสฺสติ โดยปาฐะนี้  แปลว่า หิ อนึ่ง กถาสมุปฺปตฺติ ความเกิดขึ้นพร้อมแห่งคำพูด ตตฺถ ในเพราะเหตุนั้น น ภวิสฺสติ จักไม่มีฯ ความหมายคือ คุณของพระอานนทเถระ จักไม่ปรากฏ และต่อมาจักไม่มีการกล่าวสดุดีพระเถระอีก.

[9] พระอรหันต์เหล่านั้นหลีกไป ด้วยความประสงค์ ๓ ประการ คือ ๑.เพื่อให้พระพุทธานุภาพเกี่ยวกับการสยบช้างดุด้วยพระเมตตา ปรากฏแก่สายตามหาชน ๒.เพื่อให้คุณของพระอานนท์เกี่ยวกับมีความจงรักภักดีต่อพระผู้มีพระภาคไม่ทอดทิ้งแม้คราวมีอันตราย ยินดีสละชีวิตของตนป้องกันพระชนม์ชีพของพระผู้มีพระภาค ปรากฏแก่ชนทั้งหลาย ๓.เพื่อชนหมู่ใหญ่ที่ได้เห็นพระอภินิหาร เกิดความเลื่อมใสยิ่ง ได้ฟังธรรมแล้วก็จะหลุดพ้นจากกิเลสเครื่องพันธนาการ

[10] ปาฐะฉบับไทยเป็น สาธุ ภนฺเต นาคเสน, นตฺถิ อรหนฺตานํ ภยํ วา สนฺตาโส วา เอวเมตํ ตถา สมฺปฏิจฺฉามีติ. แปล ภยํ วา ความกลัว ก็ตาม สนฺตาโส วา ความพรั่นพรึง ก็ตาม อรหนฺตานํ แห่งพระอรหันต์ทั้งหลาย นตฺถิ ย่อมไม่มี ด้วย อรหนฺโต พระอรหันต์ทั้งหลาย ทิสฺวา เห็นแล้ว อานิสํสํ ซึ่งอานิสงส์ ปกฺกนฺตา เป็นผู้หลีกไปแล้ว ทิสาวิทิสํ สู่ทิศใหญ่และทิศน้อย โหนฺติ ย่อมเป็น ด้วย  ยํ ใด, (อหํ) เรา (สมฺปฏิจฺฉามิ) ขอยอมรับ (อรหนฺตานํ ภยสนฺตาสานํ นตฺถิตํ จ) ซึ่งความไม่มีแห่งความกลัวและความพรั่นพรึงของพระอรหันต์ทั้งหลาย ด้วย, (อรหนฺตานํ อานิสํสํ ทิสฺวา ทิสาวิทิสํ ปกฺกมนํ) ซึ่งการเห็นอานิสงส์ แล้วหลีกไป สู่ทิศใหญ่น้อย ของพระอรหันต์ทั้งหลาย เอตํ นี้ เอวํ ด้วยประการฉะนี้ ดังนี้