วันเสาร์ที่ 10 กันยายน พ.ศ. 2559

มิลินทปัญหา แปล : อนุมานวรรคที่ ๔ : อนุมานปัญหาที่ ๑ [1]

๔. อนุมานวคฺโค[1]
๑. อนุมานปญฺโห 
อนุมานวรรคที่ ๔ : อนุมานปัญหาที่ ๑ 
. อถ โข มิลินฺโท ราชา เยนายสฺมา นาคเสโน เตนุปสงฺกมิ, อุปสงฺกมิตฺวา อายสฺมนฺตํ นาคเสนํ อภิวาเทตฺวา เอกมนฺตํ นิสีทิ, เอกมนฺตํ นิสินฺโน โข มิลินฺโท ราชา ญาตุกาโม โสตุกาโม ธาเรตุกาโม ญาณาโลกํ ทฏฺฐุกาโม อญฺญาณํ ภินฺทิตุกาโม ญาณาโลกํ อุปฺปาเทตุกาโม อวิชฺชนฺธการํ นาเสตุกาโม อธิมตฺตํ ธิติญฺจ อุสฺสาหญฺจ สติญฺจ สมฺปชญฺญญฺจ อุปฏฺฐเปตฺวา อายสฺมนฺตํ นาคเสนํ เอตทโวจ ‘‘ภนฺเต นาคเสน, กิํ ปน พุทฺโธ ตยา ทิฏฺโฐ’’ติฯ ‘‘น หิ, มหาราชา’’ติฯ ‘‘กิํ ปน เต อาจริเยหิ พุทฺโธ ทิฏฺโฐ’’ติ? ‘‘น หิ, มหาราชา’’ติฯ ‘‘ภนฺเต นาคเสน, น กิร ตยา พุทฺโธ ทิฏฺโฐ, นาปิ กิร เต อาจริเยหิ พุทฺโธ ทิฏฺโฐ, เตน หิ, ภนฺเต นาคเสน, นตฺถิ พุทฺโธ, น เหตฺถ พุทฺโธ ปญฺญายตี’’ติฯ
๑. อถ โข ลำดับนั้น มิลินฺโท ราชา พระราชา พระนามว่า มิลินท์ อายสฺมา นาคเสโน ท่านพระนาคเสน วสติ อยู่ เยน =  ยตฺถ ทิสาภาเค ในส่วนแห่งทิศใด, อุปสงฺกมิ เสด็จเข้าไปแล้ว เตน = ตํ ทิสาภาคํ สู่ส่วนแห่งทิศนั้น, อุปสงฺกมิตฺวา ครั้นเสด็จเข้าไปแล้ว อภิวาเทตฺวา ทรงนมัสการ อายสฺมนฺตํ นาคเสนํ ท่านพระนาคเสนแล้ว นิสีทิ จึงประทับนั่ง เอกมนฺตํ ณ ที่สมควรแห่งหนึ่ง, มิลินฺโท ราชา พระราชาพระนามว่า มิลินท์ นิสินฺโน โข ครั้นประทับนั่งเรียบร้อย เอกมนฺตํ ณที่สมควรแห่งหนึ่งแล้ว ญาตุกาโม มีพระประสงค์จะทราบ โสตุกาโม จะสดับ ธาเรตุกาโม จะจดจำไว้ ทฏฺฐุกาโม จะทอดพระเนตรเห็น ญาณาโลกํ  ซึ่งแสงสว่างคือความรู้ ภินฺทิตุกาโม จะทำลาย อญฺญาณํ ซึ่งความไม่รู้ อุปฺปาเทตุกาโม จะทำ - ญาณาโลกํ ซึ่งแสงสว่างคือญาณ - ให้เกิดขึ้น นาเสตุกาโม จะทำ - อวิชฺชนฺธการํ ความมืดคืออวิชชา - ให้พินาศ อุปฏฺฐเปตฺวา ทรงตั้งไว้ ธิติํ จ ความทรงจำ อุสฺสาหํ จ ความอุตสาหะ สติํ สติ สมฺปชญฺญํ จ และสัมปชัญญะ อโวจ แล้วจึงตรัส เอตํ วจนํ พระดำรัสนี้ อายสฺมนฺตํ นาคเสนํ กะท่านพระนาคเสน อิติ ว่า ภนฺเต นาคเสน พระคุณเจ้านาคเสน ตยา ปน พระคุณเจ้า ทิฏฺโฐ เคยเห็น พุทฺโธ  พระพุทธเจ้าแล้ว กิํ หรือไร ดังนี้

นาคเสโน เถโร พระนาคเสนเถระ อโวจ ได้ทูล อิติ ว่า มหาราช ขอถวายพระพรมหาบพิตร (มยา) อาตมภาพ น หิ ไม่ (ทิฏฺโฐ) เคยเห็น ดังนี้
ราชา พระเจ้ามิลินท์ อาห ตรัสแล้ว อิติ ว่า ปน อนึ่ง พุทฺโธ พระพุทธเจ้า อาจริเยหิ อันอาจารย์ เต ของพระคุณเจ้า ทิฏฺโฐ เคยเห็นแล้ว กิํ หรือไม่ ดังนี้
นาคเสโน เถโร พระนาคเสนเถระ อโวจ ได้ทูล อิติ ว่า มหาราช ขอถวายพระพรมหาบพิตร (เม อาจริเยหิ) อาจารย์ท. ของอาตมภาพ น หิ ไม่ (ทิฏฺโฐ) เคยเห็น ดังนี้
ราชา พระเจ้ามิลินท์ อาห ตรัสแล้ว อิติ ว่า  ภนฺเต นาคเสน พระคุณเจ้านาคเสน กิร ได้ยินว่า พุทฺโธ พระพุทธเจ้า ตยา ตัวพระคุณเจ้า น ทิฏฺโฐ ก็ไม่เคยเห็น, กิร ได้ยินว่า พุทฺโธ พระพุทธเจ้า อาจริเยหิ ปิ ทั้งอาจารย์ท. เต ของพระคุณเจ้า น ทิฏฺโฐ ก็มิเคยเห็น, ภนฺเต นาคเสน พระคุณเจ้านาคเสน เตนหิ ถ้าเช่นนั้น พุทฺโธ พระพุทธเจ้า นตฺถิ ไม่มีหรอก, หิ ด้วยว่า พุทฺโธ พระพุทธเจ้า น ปญฺญายติ มิได้ปรากฏ เอตฺถ ในโลกนี้ ดังนี้.
‘‘อตฺถิ ปน เต, มหาราช, ปุพฺพกา ขตฺติยา, เย เต ตว ขตฺติยวํสสฺส ปุพฺพงฺคมา’’ติ? ‘‘อาม, ภนฺเตฯ โก สํสโย, อตฺถิ ปุพฺพกา ขตฺติยา, เย มม ขตฺติยวํสสฺส ปุพฺพงฺคมา’’ติฯ ‘‘ทิฏฺฐปุพฺพา ตยา, มหาราช, ปุพฺพกา ขตฺติยา’’ติ? ‘‘น หิ ภนฺเต’’ติฯ ‘‘เย ปน ตํ, มหาราช, อนุสาสนฺติ ปุโรหิตา เสนาปติโน อกฺขทสฺสา มหามตฺตา, เตหิ ปุพฺพกา ขตฺติยา ทิฏฺฐปุพฺพา’’ติ? ‘‘น หิ ภนฺเต’’ติฯ ‘‘ยทิ ปน เต, มหาราช, ปุพฺพกา ขตฺติยา น ทิฏฺฐา, นาปิ กิร เต อนุสาสเกหิ ปุพฺพกา ขตฺติยา ทิฏฺฐา, เตน หิ นตฺถิ ปุพฺพกา ขตฺติยา, น เหตฺถ ปุพฺพกา ขตฺติยา ปญฺญายนฺตี’’ติฯ
นาคเสโน เถโร พระนาคเสนเถระ อโวจ ได้ทูล อิติ ว่า มหาราช ขอถวายพระพรมหาบพิตร ปน ก็ ปุพฺพกา ขตฺติยา บุรพกษัตริย์ท. เย เหล่าใด ปุพฺพงฺคมา เป็นปฐมกษัตริย์ ขตฺติยวํสสฺส แห่งขัตติยวงศ์ ตว ของมหาบพิตร, เต ปุพฺพกา ขตฺติยา บุรพกษัตริย์ท. เหล่านั้น อตฺถิ มีอยู่หรือ ดังนี้.
ราชา พระเจ้ามิลินท์ อาห ตรัสแล้ว อิติ ว่า อาม มีสิ ภนฺเต พระคุณเจ้า. อสฺส พึงมี สํสโย ข้อสงสัย โก ใดกัน,  ปุพฺพกา ขตฺติยา บุรพกษัตริย์ท. เย เต เหล่าใด ปุพฺพงฺคมา เป็นปฐมกษัตริย์ ขตฺติยวํสสฺส แห่งขัตติยวงศ์ มม ของโยม, เต ปุพฺพกา ขตฺติยา บุรพกษัตริย์ท. เหล่านั้น อตฺถิ มีอยู่[2].
นาคเสโน เถโร พระนาคเสนเถระ อโวจ ได้ทูล อิติ ว่า มหาราช ขอถวายพระพร ปุพฺพกา ขตฺติยา บุรพกษัตริย์ ตยา มหาบพิตร ทิฏฺฐปุพฺพา เคยเห็นมาก่อนหรือ ดังนี้.
ราชา พระเจ้ามิลินท์ อาห ตรัสแล้ว อิติ ว่า ปุพฺพกา ขตฺติยา บุรพกษัตริย์ น หิ (มยา ทิฏฺฐิปุพฺพา) โยมก็มิเคยเห็นมาก่อน ภนฺเต พระคุณเจ้า ดังนี้
นาคเสโน เถโร พระนาคเสนเถระ อโวจ ได้ทูล อิติ ว่า มหาราช ขอถวายพระพร ปน อนึ่ง อาจริยา พระอาจารย์ในมหาบพิตร เย เหล่าใด อนุสาสนฺติ ย่อมถวายการสอน ตํ ซึ่งพระองค์ คือ  ปุโรหิตา ปุโรหิต เสนาปติโน เสนาบดี อกฺขทสฺสา ตุลาการ มหามตฺตา อำมาตย์ผู้ใหญ่, ปุพฺพกา ขตฺติยา บุรพกษัตริย์ เตหิ อันพระอาจารย์เหล่านั้น ทิฏฺฐปุพฺพา เคยเห็นมาก่อนแล้วหรือ ดังนี้.
ราชา พระเจ้ามิลินท์ อาห ตรัสแล้ว อิติ ว่า ปุพฺพกา ขตฺติยา บุรพกษัตริย์ เตหิ อันพระอาจารย์เหล่านั้น น ทิฏฺฐปุพฺพา หิ ไม่เคยเห็นมาก่อน ภนฺเต พระคุณเจ้า ดังนี้
นาคเสโน เถโร พระนาคเสนเถระ อโวจ ได้ทูล อิติ ว่า มหาราช ขอถวายพระพร ยทิ ปน ถ้า ปุพฺพกา ขตฺติยา บุรพกษัตริย์ กิร ได้ยินว่า ตยา มหาบพิตร ทิฏฺฐา ก็มิเคยเห็น, ปุพฺพกา ขตฺติยา ปิ ถึงบุรพกษัตริย์ อนุสาสเกหิ พระอาจารย์ผู้ถวายการสอน น ทิฏฺฐา ก็มิเคยเห็น, เตน หิ ถ้าเช่นนั้น  ปุพฺพกา ขตฺติยา บุรพกษัตริย์ นตฺถิ ก็ไม่มี, หิ ด้วยว่า ปุพฺพกา ขตฺติยา บุรพกษัตริย์ น ปญฺญายนฺติ ไม่ปรากฏอยู่ เอตฺถ ในขัตติยวงศ์ของพระองค์ ดังนี้.
‘‘ทิสฺสนฺติ, ภนฺเต นาคเสน, ปุพฺพกานํ ขตฺติยานํ อนุภูตานิ ปริโภคภณฺฑานิฯ เสยฺยถิทํ, เสตจฺฉตฺตํ อุณฺหีสํ ปาทุกา วาลพีชนี ขคฺครตนํ มหารหานิ จ สยนานิฯ เยหิ มยํ ชาเนยฺยาม สทฺทเหยฺยาม อตฺถิ ปุพฺพกา ขตฺติยาติฯ ‘‘เอวเมว โข, มหาราช, มยมฺเปตํ ภควนฺตํ ชาเนยฺยาม สทฺทเหยฺยามฯ อตฺถิ ตํ การณํ, เยน มยํ การเณน ชาเนยฺยาม สทฺทเหยฺยามอตฺถิ โส ภควาติฯ กตมํ ตํ การณํ? อตฺถิ โข, มหาราช, เตน ภควตา ชานตา ปสฺสตา อรหตา สมฺมาสมฺพุทฺเธน อนุภูตานิ ปริโภคภณฺฑานิฯ เสยฺยถิทํ, จตฺตาโร สติปฏฺฐานา จตฺตาโร สมฺมปฺปธานา จตฺตาโร อิทฺธิปาทา ปญฺจินฺทฺริยานิ ปญฺจ พลานิ สตฺต โพชฺฌงฺคา อริโย อฏฺฐงฺคิโก มคฺโค, เยหิ สเทวโก โลโก ชานาติ สทฺทหติอตฺถิ โส ภควาติฯ อิมินา, มหาราช, การเณน อิมินา เหตุนา อิมินา นเยน อิมินา อนุมาเนน ญาตพฺโพ อตฺถิ โส ภควาติฯ
‘‘‘พหู ชเน ตารยิตฺวา,            นิพฺพุโต อุปธิกฺขเย;
อนุมาเนน ญาตพฺพํ,             อตฺถิ โส ทฺวิปทุตฺตโม’’’ติฯ

ราชา พระเจ้ามิลินท์ อาห ตรัสแล้ว อิติ ว่า ภนฺเต นาคเสน พระคุณเจ้านาคเสน มยํ พวกโยม ชาเยฺยาม พึงรู้ สทฺทเหยฺยาม พึงเชื่อ อิติ ว่า ปุพฺพกา ขตฺติยา บุรพกษัตริย์ท.  อตฺถิ มีอยู่ ดังนี้ เยหิ เพราะเหตุท.เหล่าใด, ตานิ การณานิ เหตุท. เหล่านั้น คือ ปริโภคภณฺฑานิ เครื่องราชูปโภค ปุพฺพกานํ ขตฺติยานํ ซึ่งบุรพกษัตริย์ อนุภูตานิ เคยใช้ ทิสฺสนฺติ ปรากฏอยู่. เสยฺยถิทํ ได้แก่ เสตจฺฉตฺตํ เศวตฉัตร อุณฺหีสํ อุณหิส (มงกุฏ) ปาทุกา ฉลองพระบาท วาลพีชนี พัดพาลวิชนี ขคฺครตนํ พระขรรค์แก้ว มหารหานิ สยนานิ จ และที่บรรทมทรงค่ามาก.  ดังนี้.
นาคเสโน เถโร พระนาคเสนเถระ อโวจ ได้ทูล อิติ ว่า มหาราช ขอถวายพระพร เอวเมว โข ข้อนี้เป็นเช่นนั้นเหมือนกัน มยํ ปิ แม้พวกอาตมภาพ ชาเนยฺยาม พึงทราบ สทฺทเหยฺยาม พึงเชื่อ เอตํ ภควนฺตํ ต่อพระผู้มีพระภาคพระองค์นั้น. มยํ พวกอาตมภาพ ชาเนยฺยาม พึงทราบ สทฺทเหยฺยาม พึงเชื่อ อิติ ว่า โส ภควา พระผู้มีพระภาคพระองค์นั้น อตฺถิ ทรงมีอยู่ ดังนี้ เยน การเณน เพราะเหตุใด, ตํ การณํ เหตุนั้น อตฺถิ มีอยู่. ตํ การณํ เหตุนั้น กตมํ คืออะไร? มหาราช มหาบพิตร โลโก มนุษย์ สเทวโก พร้อมทั้งเทวดา ชานาติ ย่อมรู้ สทฺทหติ ย่อมเชื่อ อิติ ว่า โส ภควา พระผู้มีพระภาคพระองค์นั้น อตฺถิ มีอยู่ ดังนี้ เยหิ การเณหิ เพราะเหตุท.เหล่าใด, ตานิ การณานิ เหตุท.เหล่านั้น  คือ ปริโภคภณฺฑานิ เครื่องใช้สอยคือธรรม ภควตา ที่พระผู้มีพระภาค ชานตา ผู้รู้ ปสฺสตา ผู้เห็น อรหตา สมฺมาสมฺพุทฺเธน ผู้เป็นพระอรหันตสัมมาสัมพุทธเจ้า เตน พระองค์นั้น อนุภูตา ทรงใช้สอย อตฺถิ มีอยู่, เสยฺยถิทํ ได้แก่ จตฺตาโร สติปฏฺฐานา สติปัฏฐาน ๔ จตฺตาโร อิทฺธิปาทา อิทฺธิบาท ๔ ปญฺจินฺทฺริยานิ อินทรีย์ ๕  ปญฺจ พลานิ พละ ๕  สตฺต โพชฺฌงฺคา โพชฌงค์ ๗ อริโย อฏฺฐงฺคิโก มคฺโค อริยมรรคมีองค์ ๘.  มหาราช ขอถวายพระพร โส ภควา พระผู้มีพระภาคพระองค์นั้น อมฺเหหิ พวกข้าพระองค์ ญาตพฺโพ พึงรู้ได้ อิติ ว่า อตฺถิ มีอยู่ ดังนี้ อิมินา การเณน ด้วยเหตุนี้ อิมินา เหตุนา ด้วยปัจจัยนี้ อิมินา นเยน ด้วยนัยนี้ อิมินา อนุมาเนน ด้วยการตามรู้นี้.
ญาตพฺพํ การรู้ (อิติ) ว่า  โส ภควา พระผู้มีพระภาค พระองค์นั้น นิพฺพุโต ผู้ - ชเน ยังชนท. พหู มาก ตารยิตฺวา ให้ข้ามแล้ว - จึงปรินิพพาน อุปธิกฺขเย เพราะสิ้นอุปธิ ทฺวิปทุตฺตโม เป็นผู้สูงสุดแห่งบรรดาสัตว์ ๒ เท้า อตฺถิ มีอยู่ ดังนี้ อนุมาเนน ด้วยข้ออนุมาน ดังนี้

**************



[1] ฉบับมหาจุฬาเป็น อนุมานปญฺหกณฺฑ

ไม่มีความคิดเห็น:

แสดงความคิดเห็น