๑๐. พุทฺธสพฺพญฺญุภาวปญฺโห
ปัญหาว่าด้วยความเป็นพระสัพพัญญูของพระพุทธเจ้า
๑๐.
‘‘ภนฺเต นาคเสน, ตุมฺเห
ภณถ ‘ตถาคโต สพฺพญฺญู’ติฯ ปุน จ ภณถ ‘ตถาคเตน สาริปุตฺตโมคฺคลฺลานปฺปมุเข
ภิกฺขุสงฺเฆ ปณามิเต จาตุเมยฺยกา จ สกฺยา พฺรหฺมา จ สหมฺปติ พีชูปมญฺจ วจฺฉตรุณูปมญฺจ
อุปทสฺเสตฺวา ภควนฺตํ ปสาเทสุํ ขมาเปสุํ นิชฺฌตฺตํ อกํสู’ติฯ กิํ นุ โข, ภนฺเต
นาคเสน, อญฺญาตา
ตา อุปมา ตถาคตสฺส, ยาหิ
ตถาคโต อุปมาหิ โอรโต ขมิโต อุปสนฺโต นิชฺฌตฺตํ คโต? ยทิ, ภนฺเต
นาคเสน, ตถาคตสฺส
ตา อุปมา อญฺญาตา, เตน
หิ พุทฺโธ อสพฺพญฺญู, ยทิ
ญาตา, เตน
หิ โอกสฺส ปสยฺห วีมํสาเปกฺโข ปณาเมสิ, เตน
หิ ตสฺส อการุญฺญตา สมฺภวติฯ อยมฺปิ อุภโต โกฏิโก ปญฺโห ตวานุปฺปตฺโต, โส ตยา
นิพฺพาหิตพฺโพ’’ติฯ
มิลินฺโท ราชา พระเจ้ามิลินท์ อาห ตรัสถามแล้ว อิติ
ว่า ภนฺเต นาคเสน ข้าแต่พระนาคเสน ผู้เจริญ ตุมฺเห ท่านทั้งหลาย ภณถ
กล่าวอยู่ อิติ ว่า “ตถาคโต พระตถาคต สพฺพญฺญู
เป็นพระสัพพัญญู” ดังนี้. จ ก็ ตุมฺเห ท่านทั้งหลาย ภณถ
กล่าวอยู่ ปุน อีก อิติ ว่า
ภิกฺขุสงฺเฆ เมื่อหมู่ภิกษุ สาริปุตฺตโมคฺคลฺลานปมุเข
มีพระสารีบุตรและพระโมคคัลลานะเป็นประธาน ตถาคเต อันพระตถาคต ปณามิเต
ทรงขับไล่แล้ว สกฺยา เจ้าสักยะทั้งหลาย จาตุเมยฺยกา
ผู้อยู่ในเมืองจาตุเมยยะ จ ด้วย พฺรหฺมา จ พรหม สหฺมปติ
ชื่อว่า สหัมปติ ด้วย อุปทสฺเสตฺวา แสดงแนะแล้ว พีชูปมญฺจ
ซึ่งเทศนาอันมีพืชเป็นอุปมา ด้วย วจฺฉตรุณูปมญฺจ
ซึ่งเทศนามีลูกวัวอ่อนเป็นอุปมา ด้วย ภควนฺตํ ยังพระผู้มีพระภาค ปสาเทสุํ
ให้ทรงเลื่อมใส[1] ขมาเปสุํ ให้ทรงอดโทษ อกํสุ
ได้กระทำแล้ว ภควนฺตํ ซึ่งพระผู้มีพระภาค นิชฺฌตฺตํ = อปราธสฺส อภาวํ ให้เป็นผู้ไม่มีโทษ[2]. ภนฺเต นาคเสน ข้าแต่พระนาคเสน ผู้เจริญ ตถาคโต
พระตถาคต ปสนฺโน ทรงเลื่อมใสแล้ว โอรโต ทรงยินดีแล้ว ขมิโต ทรงพอใจแล้ว
อุปสนฺโต ทรงเข้าไปสงบแล้ว คโต ถึงแล้ว นิชฺฌตฺตํ = อปราธสฺส อภาวํ ซึ่งความไม่มีแห่งโทษ ยาหิ อุปมาหิ
ด้วยอุปมาทั้งหลายเหล่าใด, ตา อุปมา อุปมาทั้งหลาย เหล่านั้น ตถาคตสฺส = ตถาคเตน อันพระตถาคต อญฺญาตา มิทรงทราบ กิํ นุ
โข หรือหนอแล, ภนฺเต นาคเสน ข้าแต่พระนาคเสนผู้เจริญ ยทิ ถ้า ตา
อุปมา อุปมาทั้งหลาย เหล่านั้น ตถาคตสฺส = ตถาคเตน อันพระตถาคต อญฺญาตา มิทรงทราบ ไซร้, เตน
หิ ถ้าอย่างนั้น พุทฺโธ พระพุทธเจ้า อสพฺพญฺญู ทรงมิใช่พระสัพพัญญู
โหติ ย่อมเป็น, ยทิ ถ้า ตา อุปมา อุปมาทั้งหลาย เหล่านั้น ตถาคตสฺส
=
ตถาคเตน
อันพระตถาคต ญาตา ทรงทราบ ไซร้, เตน หิ ถ้าอย่างนั้น โส
พุทฺโธ พระพุทธเจ้านั้น วีมํสาเปกฺโข เพ่งแต่ความทดลอง[3] โอกสฺส
[4]
กดขี่ ปสยฺห ข่มเหง ปณาเมสิ
ขับไล่,
เตน หิ ถ้าอย่างนั้น อการุญฺญตา ความไม่มีแห่งความกรุณา ตสฺส
ตถาคตสฺส ของพระตถาคต สมฺภวติ ย่อมมี. อยมฺปิ ปญฺโห ปัญหาแม้นี้ โกฏิโก
มีเงื่อนงำ อุภโต โดยส่วนสอง อนุปฺปตฺโต ตกถึงแล้ว ตว
แก่ท่าน, โส ปญฺโห ปัญหานั้น ตยา ท่าน นิพฺพาหิตพฺโพ
พึงคลี่คลาย ดังนี้
‘‘สพฺพญฺญู, มหาราช, ตถาคโต, ตาหิ จ
อุปมาหิ ภควา ปสนฺโน โอรโต ขมิโต อุปสนฺโต นิชฺฌตฺตํ คโตฯ ธมฺมสฺสามี, มหาราช, ตถาคโต, ตถาคตปฺปเวทิเตเหว
เต โอปมฺเมหิ ตถาคตํ อาราเธสุํ โตเสสุํ ปสาเทสุํ, เตสญฺจ
ตถาคโต ปสนฺโน ‘สาธู’ติ อพฺภานุโมทิฯ
นาคเสโน เถโร พระนาคเสนเถระ อาห ทูลตอบแล้ว อิติ ว่า
มหาราช มหาบพิตร ตถาคโต พระตถาคต สพฺพญฺญู เป็นพระสัพพัญญู โหติ
ย่อมเป็น, จ ก็ ภควา พระผู้มีพระภาค ปสนฺโน ทรงเลื่อมใสแล้ว
โอรโต ทรงยินดีแล้ว ขมิโต ทรงพอใจแล้ว อุปสนฺโต
ทรงเข้าไปสงบแล้ว คโต ถึงแล้ว นิชฺฌตฺตํ = อปราธสฺส อภาวํ ซึ่งความไม่มีแห่งโทษ ตาหิ อุปมาหิ
ด้วยอุปมาทั้งหลายเหล่านั้น. มหาราช มหาบพิตร ตถาคโต พระตถาคต ธมฺมสฺสามี
ผู้เป็นเจ้าของแห่งธรรม[5] โหติ ย่อมเป็น, เต ปุคฺคลา บุคคลทั้งหลายเหล่านั้น
ตถาคตํ ยังพระตถาคต อาราเธสุํ ให้ทรงยินดีแล้ว โตเสสุํ
ให้ทรงร่าเริงแล้ว ปสาเทสุํ ให้ทรงเลื่อมใสแล้ว โอปมฺเมหิ
ด้วยวาจาเป็นเครื่องยังอุปไมยให้ถึงพร้อมทั้งหลาย ตถาคตปฺปเวเทเหว อัน อันพระตถาคตทรงประกาศแล้วนั่นเทียว,
ตถาคโต พระตถาคต จ ก็ ปสนฺโน ทรงเลื่อมใสแล้ว อพฺภานุโมทิ
ทรงอนุโมทนายิ่ง เตสํ ต่อบุคคลทั้งหลายเหล่านั้น วจเนน ด้วยคำ อิติ
ว่า สาธุ ดีแล้ว ดังนี้ ด้วย.
‘‘ยถา, มหาราช, อิตฺถี
สามิกสฺส สนฺตเกเนว ธเนน สามิกํ อาราเธติ โตเสติ ปสาเทติ, ตญฺจ
สามิโก ‘สาธู’ติ อพฺภานุโมทติ, เอวเมว
โข, มหาราช, จาตุเมยฺยกา
จ สกฺยา พฺรหฺมา จ สหมฺปติ ตถาคตปฺปเวทิเตเหว โอปมฺเมหิ ตถาคตํ อาราเธสุํ โตเสสุํ
ปสาเทสุํ, เตสญฺจ
ตถาคโต ปสนฺโน ‘สาธู’ติ อพฺภานุโมทิฯ
มหาราช มหาบพิตร (หิ) เปรียบเหมือนว่า อิตฺถี
สตรี สามิกํ ยังสามี อาราเธติ ย่อมให้ยินดี โตเสติ
ย่อมให้ร่าเริง ปสาเทติ ย่อมให้เลื่อมใส ธเนน ด้วยทรัพย์ สนฺตเกเนว
อันเป็นของมีอยู่นั่นเทียว สามิกสฺส ของสามี, จ ก็ สามิโก
สามี อพฺภานุโมทติ ย่อมอนุโมทนายิ่ง ตํ อิตฺถิํ ซึ่งสตรีนั้น วจเนน
ด้วยคำ อิติ ว่า “สาธุ” ดังนี้ ยถา ฉันใด, มหาราช มหาบพิตร, เต ปุคฺคลา บุคคลทั้งหลายเหล่านั้น ตถาคตํ
ยังพระตถาคต อาราเธสุํ ให้ทรงยินดีแล้ว โตเสสุํ ให้ทรงร่าเริงแล้ว ปสาเทสุํ
ให้ทรงเลื่อมใสแล้ว โอปมฺเมหิ
ด้วยวาจาเป็นเครื่องยังอุปไมยให้ถึงพร้อมทั้งหลาย ตถาคตปฺปเวเทเหว อัน อันพระตถาคตทรงประกาศแล้วนั่นเทียว,
จ ก็ ตถาคโต พระตถาคต ปสนฺโน ทรงเลื่อมใสแล้ว อพฺภานุโมทิ
ทรงอนุโมทนายิ่ง เตสํ ต่อบุคคลทั้งหลายเหล่านั้น วจเนน ด้วยคำ อิติ ว่า สาธุ ดีแล้ว ดังนี้ ด้วย เอวเมว
โข ฉันนั้นนั่นเทียว.
‘‘ยถา
วา ปน, มหาราช, กปฺปโก
รญฺโญ สนฺตเกเนว สุวณฺณผณเกน รญฺโญ อุตฺตมงฺคํ ปสาธยมาโน ราชานํ อาราเธติ โตเสติ
ปสาเทติ, ตสฺส
จ ราชา ปสนฺโน ‘สาธู’ติ อพฺภานุโมทติ, ยถิจฺฉิตมนุปฺปเทติ, เอวเมว โข, มหาราช, จาตุเมยฺยกา
จ สกฺยา พฺรหฺมา จ สหมฺปติ ตถาคตปฺปเวทิเตเหว โอปมฺเมหิ ตถาคตํ อาราเธสุํ โตเสสุํ
ปสาเทสุํ, เตสญฺจ
ตถาคโต ปสนฺโน ‘สาธู’ติ อพฺภานุโมทิ.
มหาราช มหาบพิตร ปน ก็ วา หรือว่า กปฺปโก
ช่างตัดผม ปสาธยมาโน เมื่อประดับ อุตฺตมงฺคํ ซึ่งพระเศียร รญฺโญ
ของพระราชา สุวณฺณผณเกน ด้วยแผ่นทองคำ สนฺตเกเนว อันเป็นของมีอยู่แห่งพระองค์นั่นเทียว
รญฺโญ ของพระราชา ราชานํ ยังพระราชา อาราเธติ ย่อมให้ทรงพอพระทัย
โตเสติ ย่อมให้ดีใจ ปสาเทติ ย่อมให้เลื่อมใส, ราชา พระราชา ปสนฺโน ผู้ทรงเลื่อมใสแล้ว
จ ก็ อพฺภานุโมทติ ย่อมทรงอนุโมทนายิ่ง อิติ วจเนน ด้วยคำว่า
สาธุ ดีจริง ดังนี้, อนุปฺปเทติ ย่อมพระราชทาน ภณฺฑํ
ซึ่งสิ่งของ กปฺปเกน ยถิจฺฉิตํ
อัน - อันช่างกัลบกปรารถนานั่นเทียว - ตามควร, ตสฺส แก่ช่างกัลบกนั้น จ ด้วย
ยถา ฉันใด, มหาราช มหาบพิตร
เต ปุคฺคลา บุคคลทั้งหลายเหล่านั้น ตถาคตํ ยังพระตถาคต อาราเธสุํ
ให้ทรงยินดีแล้ว โตเสสุํ ให้ทรงร่าเริงแล้ว ปสาเทสุํ
ให้ทรงเลื่อมใสแล้ว โอปมฺเมหิ
ด้วยวาจาเป็นเครื่องยังอุปไมยให้ถึงพร้อมทั้งหลาย ตถาคตปฺปเวเทเหว อัน อันพระตถาคตทรงประกาศแล้วนั่นเทียว,
ตถาคโต พระตถาคต จ ก็ ปสนฺโน ทรงเลื่อมใสแล้ว อพฺภานุโมทิ
ทรงอนุโมทนายิ่ง เตสํ ต่อบุคคลทั้งหลายเหล่านั้น วจเนน ด้วยคำ อิติ ว่า สาธุ ดีแล้ว ดังนี้
ด้วย เอวเมว โข ฉันนั้นนั่นเทียว.
‘‘ยถา
วา ปน, มหาราช, สทฺธิวิหาริโก
อุปชฺฌายาภตํ ปิณฺฑปาตํ คเหตฺวา อุปชฺฌายสฺส อุปนาเมนฺโต อุปชฺฌายํ อาราเธติ
โตเสติ ปสาเทติ, ตญฺจ
อุปชฺฌาโย ปสนฺโน ‘สาธู’ติ อพฺภานุโมทติ, เอวเมว โข, มหาราช, จาตุเมยฺยกา
จ สกฺยา พฺรหฺมา จ สหมฺปติ ตถาคตปฺปเวทิเตเหว โอปมฺเมหิ ตถาคตํ อาราเธสุํ โตเสสุํ
ปสาเทสุํ, เตสญฺจ
ตถาคโต ปสนฺโน ‘สาธู’ติ อพฺภานุโมทิตฺวา สพฺพทุกฺขปริมุตฺติยา ธมฺมํ เทเสสี’’ติฯ
มหาราช มหาบพิตร ปน ก็ วา หรือว่า สทฺธิวิหาริโก
สัทธิวิหาริก คเหตฺวา ถือเอา ปิณฺฑปาตํ ซึ่งบิณฑบาต อุปชฺฌายาภตํ
อันเขานำมาเพื่อพระอุปัชฌาย์ อุปนาเมนฺโต น้อมเข้าไปอยู่ อุปชฺฌายสฺส
เพื่อพระอุปัชฌาย์ อุปชฺฌายํ ยังพระอุปัชฌาย์ อาราเธติ ย่อมให้ยินดี
โตเสติ ย่อมให้ดีใจ ปสาเทติ ย่อมให้เลื่อมใส ยถา ฉันใด, มหาราช มหาบพิตร
เต ปุคฺคลา บุคคลทั้งหลายเหล่านั้น ตถาคตํ ยังพระตถาคต อาราเธสุํ
ให้ทรงยินดีแล้ว โตเสสุํ ให้ทรงร่าเริงแล้ว ปสาเทสุํ
ให้ทรงเลื่อมใสแล้ว โอปมฺเมหิ
ด้วยวาจาเป็นเครื่องยังอุปไมยให้ถึงพร้อมทั้งหลาย ตถาคตปฺปเวเทเหว อัน อันพระตถาคตทรงประกาศแล้วนั่นเทียว,
ตถาคโต พระตถาคต จ ก็ ปสนฺโน ทรงเลื่อมใสแล้ว อพฺภานุโมทิตฺวา
ทรงอนุโมทนายิ่งแล้ว เตสํ ต่อบุคคลทั้งหลายเหล่านั้น วจเนน
ด้วยคำ อิติ ว่า สาธุ
ดีแล้ว ดังนี้ เทเสสิ ทรงแสดงแล้ว ธมฺมํ ซึ่งธรรม สพฺพทุกฺขปริมุตฺติยา
เพื่อความหลุดพ้นจากทุกข์ทั้งปวง เอวเมว โข ฉันนั้นนั่นเทียว.
‘‘สาธุ, ภนฺเต
นาคเสน, เอวเมตํ
ตถา สมฺปฏิจฺฉามีติฯ
มิลินฺโท ราชา พระเจ้ามิลินท์ อาห ตรัสแล้ว อิติ ว่า ภนฺเต นาคเสน ข้าแต่พระนาคเสนผู้เจริญ สาธุ พระคุณเจ้าวิสัชนาชอบแล้ว, อหํ ข้าพเจ้า สมฺปฏิจฺฉามิ ยอมรับ เอตํ ซึ่งคำนั้น ตถา โดยประการที่พระคุณเจ้ากล่าวมา เอวํ อย่างนี้ ดังนี้
พุทฺธสพฺพญฺญุภาวปญฺโห
ทสโมฯ
พุทฺธสพฺพญฺญุภาวปญฺโห
ปัญหาว่าด้วยพระสัพพัญญูของพระพุทธเจ้า
ทสโม ลำดับที่สิบ นิฏฺฐิโต จบแล้ว
สพฺพญฺญุตญาณวคฺโค
จตุตฺโถฯ
สพฺพญฺญุตญาณวคฺโค
กลุ่มปัญหามีสัพพัญญุตญาณปัญหาเป็นที่สุด
จตุตฺโถ ลำดับที่สี่ นิฏฺฐิโต จบแล้ว
อิมสฺมิํ
วคฺเค ทส ปญฺหาฯ
ปญฺหา ปัญหาทั้งหลาย ทส สิบ อิมสฺมิํ วคฺเค ในวรรคนี้ (อตฺถิ) มีอยู่
***
[1] คำว่า ทรงเลื่อมใส (ปสนฺนํ, ปสาเทสุํ) ในที่นี้ เป็นคำพูดโดยอ้อม
ที่แท้แล้ว หมายเอา ความที่พระองค์ไม่ทรงถือเอาโทษ ต่อภิกษุทั้งหลายเหล่านั้น
เพราะคำทูลอาราธนาด้วยอุปมาสองประการนั้น
[2]นิชฺฌตฺต คือ ขอให้พระองค์งดโทษ
คัมภีร์มิลินทปัญหาอรรถกถา อรรถาธิบายว่านิชฺฌตฺต ศัพท์ มีความหมายตามศัพท์ว่า
สภาวะอันพึงเห็น มาจาก นิ + ฌตฺต (ฌตฺต มาจาก ฌ (ฌา = เพ่ง,รู้ + ณ ในอรรถกรรม) + อตฺต
ศัพท์ ที่มีความหมายว่า สภาว, มีวิเคราะห์ว่า
ฌายิตฺพพํ อตฺตํ ฌตฺตํ, สภาวะอันพึงเห็น ชื่อว่า ฌตฺตํ ความหมายคือ
ปสฺสิตพฺโพ สภาโว สภาพที่พึงเห็น, สภาพที่พึงเห็น ได้แก่ ความไม่มีโทษ, ฌตฺตสฺส
อภาโว นิฌตฺตํ ความไม่มีแห่งฌัตตะ คือ ความผิด ชื่อว่า นิฌตฺต, นิฌตฺต นั่นเอง
ใช้เป็น นิชฺฌตฺตํ, ความหมายคือ ได้กระทำแล้ว ซึ่งความไม่มีโทษ
(ข้อความบาลีในอรรถกถานั้นว่า โก โส, อปราโธ, ฌตฺตสฺส อภาโว นิฌตฺตํ, นิฌตฺตเมว
นิชฺฌตฺตํ, อปราธสฺส อภาวํ อกสํสูติ อตฺโถฯมิลินฺท.อฏฺ.)
[3] วีมํสาเปกฺโข (วีมํสา + อเปกฺข) วีมํสา ใคร่ครวญ, คิด, พิจารณา,
เทียบเคียง (มาน มานเน เปรียบเทียบ ยกขึ้น+ สา ภาวสาธนะ ที่มานธาตุ ให้เทฺวภาวะ ม เป็น มมาน แปลง มฺ
ตัวหน้าเป็น วฺ แปลง อ เป็น อี (บางทีเป็น
อิ) นิคคหิตอาคม) แปลตามศัพท์ว่า เพ่งแต่ความทดลอง วีมํสา ศัพท์ ในที่นี้คิดว่า
มีอรรถ จินฺตนา ความคิด (ดู ที.อฏฺ.ฏี.๒/๑๕๙ วีมํสาติ จินฺตนา ตามบริบทนี้ว่า กเถตฺวา ปกฺกกนฺเต ปน ภควติ ปุน ราชานํ อาคตํ
ทิสฺวา “โก นุโข ภยนฺติ วีมํสา อุปฺปชฺชติ (ที.อฏฺ.๒/๑๕๐)
เมื่อพระผู้มีพระภาคตรัสเช่นนี้แล้วเสด็จไป เห็นแล้ว ซึ่งพระราชาผู้กลับมาอีก
จึงคิดว่า จะมีอันตรายใดๆหรือหนอ ดังนี้. ด้วยความหมายนี้ พระเจ้ามิลินท์ทรงดำริว่า
พระพุทธองค์ทรงเป็นผู้คิดตามพระทัย จึงข่มเหงโดยพลการ
ขับไล่ภิกษุเหล่านั้น. อนึ่ง มิลินทปัญหานิสสยะ ล้านนา แปลว่า “ไม่ทรงพิจารณาดูคุณและโทษ” เมื่อถือเอาคำแปลและความหมายเช่นนี้
ปาฐะควรเป็น วีมํสานเปกฺโข (วีมํสา + อนเปกฺข) แต่อย่างไรก็ตาม
ความหมายนี้น่าพิจารณาเช่นกัน เพราะบริบทบ่งถึงความที่พระเจ้ามิลินท์ทรงดำริว่า
พระพุทธเจ้าทรงไม่คำนึง ตริตรองตามเหตุผล
เอาแต่พระทัยของพระองค์เองแล้วขับไล่ภิกษุเหล่านั้นตามกำลัง
[4] โอกฺกสฺส มาจาก อว + กส + ตฺวา ใช้เป็นกิริยาวิเสสนะ
(หรือเป็นปุพพกาลกิริยา) แปลตามศัพท์ ว่า ฉุด, คร่า,
ในบาฬีสองศัพท์นี้มาเป็นศัพท์พวงที่ส่องความหมายว่า ขืนใจ, บังคับ, ใช้กำลัง,
หรือกระทำโดยพลการ, ข่มเหง เช่น อญฺโญปิ
อจฺฉริโย อพฺภุโต ธมฺโม
อิธ เม ภนฺเต นนฺโท
นาม เอกปุตฺตโก ปิโย
มนาโป ตํ ราชาโน
กิสฺมิญฺจิเทว การเณ
โอกฺกสฺส ปสยฺห ชีวิตา
โวโรเปสุํ ดิฉันมีบุตรน้อยอยู่คนหนึ่งชื่อนันทะ เป็นที่รัก
เป็นที่ชอบใจพระราชาได้ข่มขี่ปลงเธอเสียจากชีวิตในเพราะเหตุเพียงนิดหน่อย (อํ.สตฺตก.๒๓/๕๐)
และพระบาฬีนี้ว่า ตา น โอกฺกสฺส น ปสยฺห วาเสนฺติ
พวกเจ้าวัชชีจักไม่ฉุดคร่าขืนใจสตรีหรือกุมารีในสกุล ให้ อยู่ร่วมด้วยอยู่.
คัมภีร์อรรถกถาทีฆนิกายอธิบายว่า โอกฺกสฺส ปสยฺหาติ เอตฺถ “โอสกฺกสฺสา”ติ วา
ปสยฺหาติ วา ปสยฺหาการสฺเสเวตํ นามํ. “อุกฺกสฺสา”ติปิ ปฐนฺติ. ตตฺถ โอกฺกสฺสาติ
อวกสฺสิตฺวา อากฑฺฒิตฺวา. (ที.อฏฺ.๒/๑๑๐,อํ.อฏฺฐ.๓/๑๕๓).
พจนานุกรมฉบับภูมิพโลภิกขุ อรรถาธิบายว่า ดึงลง,ดึงหรือฉุดกระชากไป,ทำให้หันเห, เคลื่อนไป, ใช้เฉพาะในตูนาทิ
ปัจจัย โอกสฺส, รวมกันกับ ปสยฺห
เสมอ "การย้ายออกด้วยกำลัง".
[5] ธมฺมสฺสามี เป็นคำวิเศษน์ ใช้เฉพาะพระพุทธองค์ ความหมายคือ เจ้าของธรรม
อีกนัยหนึ่ง ทรงเป็นใหญ่เพราะธรรม