วันอาทิตย์ที่ 15 ธันวาคม พ.ศ. 2556

กัจจายนไวยากรณ์แปล สูตรที่ ๑๗ ยเมทนฺตสฺสาเทโส

๑๗, ๑๙. ยเมทนฺตสฺสาเทโส
สเร ในเพราะสระ ปเร ข้างหลัง ยํ = ย อิติ รูปํ ยรูป อาเทโส เป็นอาเทศ (ตัวที่ถูกกล่าวในตำแหน่งแห่งอาเทสี ในที่นี้คือ เอ) เอทนฺตสฺส  [=เอการสฺส ปทนฺตภูตสฺส] แห่งเออันเป็นที่สุดแห่งบท กฺวจิ ในบางอุทาหรณ์ โหติ ย่อมเป็น.[1]
เอการสฺส อนฺตภูตสฺส สเร ปเร กฺวจิ การาเทโส โหติฯ
สเร ในเพราะสระ ปเร อันตั้งอยู่ข้างหลัง ยการาเทโส อ.อาเทสคือยอักษร เอการสฺส แห่งเอ อนฺตภูตสฺส อันเป็นที่สุดแห่งบท โหติ ย่อมมี กฺวจิ ในบางอุทาหรณ์

อธิคโต โข มฺยายํ ธมฺโม, ตฺยาหํ เอวํ วเทยฺยํ, ตฺยาสฺส ปหีนา โหนฺติฯ
 [อุทาหรณานิ อ.อุทาหรณ์ท. สิชฺฌนฺติ ย่อมสำเร็จ เอวํ อย่างนี้ อิติ คือ]
อธิคโต โข มฺยายํ อธิคโต โข มฺยายํ [เม อยํ], ตฺยาหํ เอวํ วเทยฺยํ,ตฺยาหํ [เต อหํ] เอวํ วเทยฺยํ, ตฺยาสฺส  ปหีนา โหนฺติ ตฺยาสฺส [เต อสฺส] ปหีนา โหนฺติฯ

กฺวจีติ กสฺมา? เนนาคตา, อิติ เนตฺถฯ
[โภ อาจริย ข้าแต่ท่านอาจารย์ผู้เจริญ] กฺวจิ อิติ ปทํ บทว่า กฺวจิ ในบางแห่ง                 [อาจริเยน ตยา อันท่าน ผู้อาจารย์ วุตฺตํ กล่าวไว้] กสฺมา เพราะเหตุไร?
[กฺวิจิ อิติ ปทํ บทว่า กฺวจิ มยา อันเรา วุตฺตํ กล่าวไว้ ฃาปนตฺถํ เพื่อให้ทราบ อิติ ว่า ปโยเคสุ ในตัวอย่างการใช้ ท. ว่า เนนาคตา เนนาคตา [เน อนาคตา], อิติ เนตฺถ อิติ เนตฺถ [น เอตฺถ] ปรสฺสรอนฺตภูตเอกาเร เมื่อสระหลังและเออักษรอันเป็นที่สุดแห่งบท สติปิ แม้มีอยู่ ยการาเทโส อ.อาเทศคือยอักษร น โหติ ย่อมไม่มี อิมินา สุตฺเตน ด้วยสูตรนี้   นิวาริตตตฺตา เพราะความที่ - ยการาเทสสฺส แห่งอาเทศคือยรูป  กฺวจิสทฺเทน อันกฺวจิศัพท์ -ห้ามไว้


[1]อีกนัยหนึ่ง สเร ในเพราะสระ ปเร อันตั้งอยู่ข้างหลัง อาเทโส อ.อาเทศ ยํ  [= ยํ อิติ รูปํ] คือ รูปว่า ย เอการสฺส แห่ง เอ อนฺตภูตสฺส อันเป็นที่สุดแห่งบท โหติ ย่อมมี กฺวจิ ในบางอุทาหรณ์.

ไม่มีความคิดเห็น:

แสดงความคิดเห็น