พระบาฬีที่มา
๒๘๐. ‘‘โส โข อหํ, ภิกฺขเว, อตฺตนา ชาติธมฺโม สมาโน ชาติธมฺเม อาทีนวํ วิทิตฺวา อชาตํ อนุตฺตรํ โยคกฺเขมํ นิพฺพานํ ปริเยสมาโน อชาตํ อนุตฺตรํ โยคกฺเขมํ นิพฺพานํ อชฺฌคมํ, อตฺตนา ชราธมฺโม สมาโน ชราธมฺเม อาทีนวํ วิทิตฺวา อชรํ อนุตฺตรํ โยคกฺเขมํ นิพฺพานํ ปริเยสมาโน อชรํ อนุตฺตรํ โยคกฺเขมํ นิพฺพานํ อชฺฌคมํ, อตฺตนา พฺยาธิธมฺโม สมาโน พฺยาธิธมฺเม อาทีนวํ วิทิตฺวา อพฺยาธิํ อนุตฺตรํ โยคกฺเขมํ นิพฺพานํ ปริเยสมาโน อพฺยาธิํ อนุตฺตรํ โยคกฺเขมํ นิพฺพานํ อชฺฌคมํ, อตฺตนา มรณธมฺโม สมาโน มรณธมฺเม อาทีนวํ วิทิตฺวา อมตํ อนุตฺตรํ โยคกฺเขมํ นิพฺพานํ อชฺฌคมํ, อตฺตนา โสกธมฺโม สมาโน โสกธมฺเม อาทีนวํ วิทิตฺวา อโสกํ อนุตฺตรํ โยคกฺเขมํ นิพฺพานํ อชฺฌคมํ, อตฺตนา สํกิเลสธมฺโม สมาโน สํกิเลสธมฺเม อาทีนวํ วิทิตฺวา อสํกิลิฏฺฐํ อนุตฺตรํ โยคกฺเขมํ นิพฺพานํ ปริเยสมาโน อสํกิลิฏฺฐํ อนุตฺตรํ โยคกฺเขมํ นิพฺพานํ อชฺฌคมํฯ ญาณญฺจ ปน เม ทสฺสนํ อุทปาทิ – ‘อกุปฺปา เม วิมุตฺติ, อยมนฺติมา ชาติ, นตฺถิ ทานิ ปุนพฺภโว’ติฯ
๒๘๑. ‘‘ตสฺส มยฺหํ, ภิกฺขเว, เอตทโหสิ – ‘อธิคโต โข มฺยายํ ธมฺโม คมฺภีโร ทุทฺทโส ทุรนุโพโธ สนฺโต ปณีโต อตกฺกาวจโร นิปุโณ ปณฺฑิตเวทนีโยฯ อาลยรามา โข ปนายํ ปชา อาลยรตา อาลยสมฺมุทิตาฯ อาลยรามาย โข ปน ปชาย อาลยรตาย อาลยสมฺมุทิตาย ทุทฺทสํ อิทํ ฐานํ ยทิทํ – อิทปฺปจฺจยตา ปฏิจฺจสมุปฺปาโทฯ อิทมฺปิ โข ฐานํ ทุทฺทสํ ยทิทํ – สพฺพสงฺขารสมโถ สพฺพูปธิปฏินิสฺสคฺโค ตณฺหากฺขโย วิราโค นิโรโธ นิพฺพานํฯ
อหญฺเจว โข ปน ธมฺมํ เทเสยฺยํ, ปเร จ เม น อาชาเนยฺยุํ, โส มมสฺส กิลมโถ, สา มมสฺส วิเหสา’ติฯ อปิสฺสุ มํ, ภิกฺขเว, อิมา อนจฺฉริยา คาถาโย ปฏิภํสุ ปุพฺเพ อสฺสุตปุพฺพา
‘กิจฺเฉน เม อธิคตํ, หลํ ทานิ ปกาสิตุํ;
ราคโทสปเรเตหิ, นายํ ธมฺโม สุสมฺพุโธฯ
‘ปฏิโสตคามิํ นิปุณํ, คมฺภีรํ ทุทฺทสํ อณุํ;
ราครตฺตา น ทกฺขนฺติ, ตโมขนฺเธน อาวุฏา’’’ติ
ภิกฺขเว ภิกษุทั้งหลาย โส อหํ เรานั้น อตฺตนา ทั้งที่ ตนเอง ชาติธมฺโม เป็นผู้มีความเกิดเป็นธรรมดา สมาโน มีอยู่ วิทิตฺวา ทราบชัดแล้ว อาทีนวํ ซึ่งโทษ ชาติธมฺเม ในธรรมมีความเกิดเป็นธรรมดา ปริเยสมาโน แสวงหาอยู่ นิพฺพานํ ซึ่งพระนิพพาน อชาตํ อันเป็นธรรมไม่เกิด อนุตฺตรํ อันยอดเยี่ยม โยคกฺเขมํ เป็นที่เกษมจากโยคะ อชฺฌคมํ ได้บรรลุแล้ว นิพฺพานํ ซึ่งนิพพาน อชาตํ อันเป็นธรรมไม่เกิด อนุตฺตรํ อันยอดเยี่ยม โยคกฺเขมํ เป็นที่เกษมจากโยคะ. โส อหํ เรานั้น ... ชราธมฺโม เป็นมีความแก่เป็นธรรมดา ... อชฺฌคมํ ได้บรรลุแล้ว นิพฺพานํ ซึ่งนิพพาน อชรํ อันเป็นธรรมไม่แก่ ..., พยาธิธมฺโม มีความป่วยไข้เป็นธรรมดา ... อพยาธึ อันเป็นธรรมไม่ป่วยไข้, มรณธมฺโม มีความตายเป็นธรรมดา ... อมตํ อันเป็นธรรมไม่ตาย, โสกธมฺโม มีความเศร้าโศกเป็นธรรมดา ... อโสกํ อันเป็นธรรมไม่เศร้าโศก, ... สํกิเลสธมฺโม มีความไม่สะอาดเป็นธรรมดา ... อชฺฌคมํ ได้บรรลุแล้ว นิพฺพานํ ซึ่งพระนิพพาน อสํกิลิฏฺฅํ อันเป็นธรรมหมดจด อนุตฺตรํ อันยอดเยี่ยม โยคกฺเขมํ ที่เกษมจากโยคะ. จ ปน ก็แล ฃาณํ ญาณ ทสฺสนํ อันเป็นทัสสนะ (คือปัจจเวกขณญาณ ญาณที่เกิดขึ้นในพระปฏิเวธสัทธรรม คือมรรค ผล นิพพานเป็นต้น ตามที่ได้บรรลุ) อุทปาทิ เกิดขึ้นแล้ว เม แก่เรา ว่า วิมุตฺติ วิมุตติคืออรหัตผล เม ของเรา อกุปฺปา ไม่กำเริบ (คือไม่ถูกปฏิปักขธรรมให้หวั่นไหวและมีสิ่งที่ไม่หวั่นไหวคือนิพพานเป็นอารมณ์) อยํ ชาติ ชาติคือความเกิดนี้ อนฺติมา มีในที่สุดแห่งความเกิดทั้งปวง, ทานิ บัดนี้ ภโว ภพคือการเกิดขึ้น ปุน อีก นตฺถิ ย่อมไม่มี” อิติ ดังนี้(หรืออีกนัยหนึ่ง ฃาณํ พระสัพพัญญุตญาณ ทสฺสนํ อันสามารถเห็นเญยธรรม(อริยสัจ)ทั้งสิ้นไม่เหลือ อุทปาทิ เกิดขึ้นแล้ว เม แก่เราฯ ฃาณมฺปิ แม้ปัจจเวกขณญาณ (ญาณที่เกิดขึ้นในพระปฏิเวธสัทธรรม คือมรรค ผล นิพพานเป็นต้น ตามที่ได้บรรลุ) ว่า วิมุตฺติ วิมุตติคืออรหัตผล เม ของเรา อกุปฺปา ไม่กำเริบแล้ว อยํ ชาติ ชาติคือความเกิดนี้ อนฺติมา มีในที่สุดแห่งความเกิดทั้งปวง, ทานิ บัดนี้ ภโว ภพคือการเกิดขึ้น ปุน อีก นตฺถิ ย่อมไม่มี” อิติ ดังนี้ อุปฺปนฺนํ เกิดขึ้นแล้ว เม แก่เรา].
ภิกฺขเว ภิกษุทั้งหลาย เอตํ ปริวิตกฺกํ ความคิดนี้ ว่า อยํ ธมฺโม อริยสัจจธรรมนี้ เม อันเรา อธิคโต บรรลุแล้ว คมฺภีโร ลึกซึ้ง [เกนจิ ใครๆ] ทุทฺทโส = ทุกฺเขน ทฏฺฐพฺโพ อาจเห็นได้ยาก [เกนจิ ใครๆ] ทุรนุโพโธ = ทุกฺเขน อวพุชฺฌิตพฺโพ อาจรู้ได้ยาก สนฺโต สงบ ปณีโต สูงส่ง (ปณีต ศัพท์มีอรรถ คือ (ก) ถูกนำไปสู่ความเป็นประธาน, (ข) บริบูรณ์ไม่ต้องเจือปนด้วยธรรมอื่นอีก เนื่องจากมีความสงบและสูงส่ง เพราะทำความไม่อิ่มแก่ผู้บรรลุ ดุจโภชนะมีรสเลิศ อันเต็มเปี่ยมไปด้วยรสตามธรรมชาติโดยไม่ต้องมีอะไรปนเข้าไป ที่สร้างความไม่อิ่มให้แก่ผู้บริโภค) อตกฺกาวจโร เป็นวิสัยแห่งปัญญา มิได้เป็นวิสัยแห่งการคิดเอง นิปุโณ ละเอียด ปณฺฑิตเวทนีโย บัณฑิตเท่านั้นจะพึงรู้ได้. ปน แต่ อยํ ปชา หมู่สัตว์เหล่านี้ โข แล อาลยรามา เป็นผู้รื่นรมย์ด้วยกามอาลัยและตัณหาอาลัย [คือ กามอาลัย กามเป็นที่ให้สัตว์ยินดี และตัณหาอาลัย ตัณหาเป็นผู้ยินดี] อาลยรตา เป็นผู้ยินดีแล้วในกามอาลัย อาลยสมฺมุทิตา เป็นผู้บันเทิงแล้วในกามอาลัย โหนติ ย่อมเป็นฯ อิทปฺปจฺจยตาปฏิจฺจสมุปฺปาโท ปฏิจจสมุปบาทอันเป็นปัจจัยแห่งธรรม (*อิทัปปัจจยตา ธรรมอันเป็นปัจจัยและความสามารถในการให้ผลของตนเกิดขึ้น *ปฏิจจสมุปบาท ธรรมเป็นเหตุให้ผลธรรมอาศัยเกิดขึ้นร่วมกันกับตน. คำว่า อิทัป..ปาทนี้ ได้แก่ปัจจยธรรมมีอวิชชาและสังขารเป็นต้น) ยทิทํ = โย อยํ นี้ใด, อิทํ ฅานํ = อยํ อิทปฺปจฺจยตาปฏิจฺจสมุปฺปาโท ปฏิจจสมุปบาทอันเป็นปัจจัยแห่งธรรมนี้ ทุทฺทสํ จึงเป็นฐานะซึ่ง - ปชาย หมู่สัตว์ อาลยรามาย ผู้ยินดีเพราะอาลัย อาลยรตาย ผู้ยินดีแล้วในกามอาลัย อาลยสมฺมุทิตาย ผู้บันเทิงแล้วในกามอาลัย - รู้ได้ยาก.
ยทิทํ= ยํ อิทํ นิพฺพานํ พระนิพพานนี้ อันใด สพฺพสงฺขารสมโถ เป็นธรรมที่ระงับสังขารทั้งปวง สพฺพูปธิปฏินิสฺสคฺโค เป็นที่สลัดอุปธิทั้งปวง ตณฺหากฺขโย เป็นที่สิ้นไปแห่งตัณหา วิราโค ธรรมอันคลายราคะ นิโรโธ เป็นที่ดับแห่งสังขารทั้งปวง, อิทํ ฐานํ = นิพฺพานํ ปิ แม้พระนิพพานนี้ ทุทฺทสํ ที่หมู่สัตว์อาจเห็นได้ยากฯ
โข ปน ก็แล อหํ ถ้าตถาคต เทเสยฺยํ แสดง ธมฺมํ ธรรม จ เอว, จ และ ปเร ถ้าผู้อื่น น อาชาเนยฺยุํ ไม่เข้าใจ เม = มม ต่อเรา , โส = สา เทสนา การแสดงธรรมแก่บุคคลผู้ไม่รู้ นั้น กิลมโถ เป็นความลำบาก มม ของเรา อสฺส พึงเป็น, สา เทสนา การแสดงธรรมแก่บุคคลผู้ไม่รู้นั้น วิเหสา เป็นการเบียดเบียน เม เรา อสฺส พึงเป็น, ภิกฺขเว ภิกษุทั้งหลาย อปิสฺสุ แม้ คาถาโย คาถาทั้งหลาย อนจฺฉริยา = อนุอจฺฉริยา อันอัศจรรย์ [อน คื อนุ ไม่มีความหมายพิเศษ, อีกนัยหนึ่ง คาถาโย คาถา อนจฺฉริยา มีความอัศจรรย์ถึงความเจริญ (น มีอรรถเจริญ)] มยา ที่เรา อสฺสุตปุพฺพา ไม่เคยได้ยิน ปุพฺเพ ในกาลก่อน ปฏิภํสุ แจ่มแจ้งแล้ว (ต่อปฏิภาณญาณ) มํ = มม แห่งเรา อิติ ดังนี้ว่า
ทานิ บัดนี้ หลํ [= อลํ = พฺยตฺตํ] สมควรหรือ ปกาสิตุํ เพื่อแสดง อิทํ สจฺจธมฺมํ ซึ่งสัจจธรรม ๔ นี้ เม อันเรา อธิคตํ บรรลุแล้ว กิจฺเฉน โดยยาก, [= โก อตฺโถ ประโยชน์อะไร เทสิเตน ด้วยการแสดงธรรม] [หรืออีกนัยหนึ่ง อลํ = นิปฺปโยชนํ ไร้ประโยชน์ ห = เอกํเสน สิ้นเชิง), อยํ ธมฺโม สัจจธรรมนี้ ราคโทสปเรเตหิ อันชนผู้ถูกราคะโทสะจูงไป (หรือ ราคโทสปริผุฏฺเฐหิ ถูกราคะโทสะอันเป็นดุจงูมีพิษซาบซ่าน แผ่ซ่านไป, ราคโทสอภิภูเตหิ ถูกราคะโทสะครอบงำ, ราคโทสานุคเตหิ หรือติดตามราคะโทสะไป) สุสมฺโพโธ จะรู้ถูกต้องด้วยตนเอง น ไม่ได้.
ราครตฺตา บุคคลผู้กำหนัดด้วยราคะแล้ว ตโมขนฺเธน ถูกกองอวิชชา อาวุฏา หุ้มห่อไว้ น ทกฺขนฺติ ย่อมไม่เห็นตามความเป็นจริงว่าไม่เที่ยงเป็นต้น, ปฏิโสตคามึ ซึ่งสัจจธรรมซึ่งเป็นไปอย่างนี้ว่า ไม่เที่ยงเป็นต้นที่ทวนกระแสแห่งบุคคลผู้ถือเอาว่าเที่ยงเป็นต้น นิปุณํ ละเอียด คมฺภีรํ ลึกซึ้ง ทุทฺทสํ ไม่อาจจะเห็นได้ง่าย อณุํ ละเอียดลออ, เมื่อไม่เห็นอย่างนี้ ใครจะสามารถให้เขาได้รู้ธรรมตามความเป็นจริงตามสภาพว่า ไม่เที่ยงเป็นต้นได้เล่า ฯ
(ปาสราสิสุตฺต ม.มู ๒๘๐
ยังมีอีกนะครับ ติดตามตอนต่อไปได้ในวันพรุ่งนี้ครับ
ตอบลบ