กจฺจายนพฺยากรณ
๑. สนฺธิกปฺป
ปฐมกณฺฑ
ปณามคาถา
อ.คาถา
อันแสดงซึ่งการนอบน้อม มยา วุจฺจเต อันเรา จะกล่าว ฯ
(ก)
พุทฺธญฺจ
ธมฺมมมลํ คณมุตฺตมญฺจ
สตฺถุสฺส
ตสฺส วจนตฺถวรํ สุพุทฺธุ
วกฺขามิ
สุตฺตหิตเมตฺถ สุสนฺธิกปฺปํฯ
อหํ อ.ข้าพเจ้า อภิวนฺทิย
ขอถวายอภิวาทแล้ว พุทฺธํ ซึ่งพระพุทธเจ้า เสฏฺฐํ ผู้ประเสริฐ ติโลกมหิตํ
ผู้อันชาวโลกสามบูชาแล้ว อคฺคํ เป็นผู้เลิศ จ ด้วย [อภิวนฺทิย ขอถวายอภิวาทแล้ว] ธมฺมํ
ซึ่งพระธรรม อมลํ ที่ปราศจากมลทิน จ ด้วย [อภิวนฺทิย ขอถวายอภิวาทแล้ว] คณํ ซึ่งหมู่ อุตฺตมํ สูงสุด จ
ด้วย วกฺขามิ แล้วจักกล่าว สุสนฺธิกปฺปํ ซึ่งปกรณ์เป็นที่เชื่อมโยงคือการจัดแบ่งดี
สุตฺตหิตํ ที่เกื้อกูลแก่สูตร [คือพระไตรปิฎก] สุพุทฺธุ เพื่อการเข้าใจอย่างดี วจนตฺถวรํ
ซึ่งอรรถแห่งพระดำรัสอันประเสริฐ ตสฺส
สตฺถุสฺส แห่งพระศาสดานั้น.
เอตฺถ [วจนตฺถวเร] ในอรรถแห่งพระดำรัสอันประเสริฐนั้น -
(ข)
เสยฺยํ
ชิเนริตนเยน พุธา ลภนฺติ
ตญฺจาปิ
ตสฺส วจนตฺถสุโพธเนน
อตฺถญฺจ
อกฺขรปเทสุ อโมหภาวา
เสยฺยตฺถิโก
ปทมโต วิวิธํ สุเณยฺยํฯ
[ยํ เสยฺยํ อ.
โลกุตรธรรมอันประเสริฐสุด ใด อตฺถิ มีอยู่]
พุธา อ.บุคคลผู้รู้ ท. ลภนฺติ
ย่อมได้ เสยฺยํ ซึ่งโลกุตรธรรมอันประเสริฐสุด [ตํ นั้น] ชิเนรตนเยน
โดยนัยอันพระชินเจ้าตรัสแล้ว, จ อนึ่ง ลภนฺติ ย่อมได้ ตํ อปิ แม้ซึ่งนัยอันพระชินเจ้าตรัสแล้วนั้น
วจนตฺถสุโพธเนน เพราะเข้าใจอรรถแห่งพระดำรัสอันประเสริฐเป็นอย่างดี ตสฺส [สตฺถุสฺส]
ของพระศาสดา.จ อีกทั้ง ลภนฺติ จะได้ อตฺถํ ความหมายทั้งโลกิยะและโลกุตระ อโมหภาวา เพราะมีความรู้ อกฺขรปเทสุ ในอักขระและบท ท. ,อโต ดังนั้น
เสยฺยตฺถิโก กุลบุตรผู้ปรารถนาโลกุตรธรรมอันประเสริฐสุด สุเณยฺยา ควรศึกษา วิวิธํ [อกฺขรปทํ ซึ่งอักขระและบท]
มีประการต่างๆ เถิด.
ไม่มีความคิดเห็น:
แสดงความคิดเห็น