วันอาทิตย์ที่ 26 กันยายน พ.ศ. 2564

ปถวิจลนปัญหา

 

๔. ปถวิจลนปญฺโห

. ปถวิจลนปัญหา

ปัญหาว่าด้วยเหตุที่ทำให้แผ่นดินไหว

****

. ‘‘ภนฺเตนาคเสน, ภาสิตมฺเปตํ ภควตา – ‘อฏฺฐิเม, ภิกฺขเว, เหตู อฏฺฐ ปจฺจยา มหโต ภูมิจาลสฺส ปาตุภาวายาติฯ อเสสวจนํ อิทํ, นิสฺเสสวจนํ อิทํ, นิปฺปริยายวจนํ อิทํ, นตฺถญฺโญ นวโม เหตุ มหโต ภูมิจาลสฺส ปาตุภาวายฯ

 

 

มิลินฺโท ราชา พระเจ้ามิลินท์ อาห ตรัสแล้ว อิติ ว่า ภนฺเต นาคเสน ข้าแต่พระนาคเสนผู้เจริญ เอตํ วจนํ ข้อความนี้ ภควตา อันพระผู้มีพระภาคเจ้า ภาสิตํ ทรงภาษิตแล้ว อิติ ว่า ภิกฺขเว ดูก่อนภิกษุทั้งหลาย เหตุ เหตุทั้งหลาย อฏฺฐ ๘, ปจฺจยา ปัจจัยทั้งหลาย อฏฺฐอิเม เหล่านี้ โหนฺติ ย่อมมี ปาตุภาวาย เพื่อความปรากฏขึ้น ภูมิจาลสฺส แห่งการสั่นไหวของแผ่นดิน มหโต ครั้งใหญ่ ดังนี้[1]. อิทํ วจนํ คำนี้ อเสสวจนํ เป็นคำไม่มีส่วนเหลือ โหติ ย่อมเป็น, อิทํ วจนํ คำนี้ นิสฺเสสวจนํ เป็นคำพูดไร้ส่วนเหลือ โหติ ย่อมเป็น, อิทํ วจนํ คำนี้ นิปฺปริยายวจนํ เป็นคำพูดโดยตรง โหติ ย่อมเป็น, เหตุ เหตุ นวโม ลำดับที่ ๙ อญฺโญ อย่างอื่น นตฺถิ ย่อมไม่มี ปาตุภาวาย เพื่อความปรากฏขึ้ืน ภูมิจาลสฺส แห่งการสั่นไหวของแผ่นดิน มหโต ครั้งใหญ่ฯ

 

ยทิ, ภนฺเตนาคเสน, อญฺโญ นวโม เหตุ ภเวยฺย มหโต ภูมิจาลสฺส ปาตุภาวาย, ตมฺปิ เหตุํ ภควากเถยฺยฯ

ภนฺเต นาคเสน ข้าแต่พระนาคเสนผู้เจริญ ยทิ ผิว่า เหตุ เหตุ นวโม ลำดับที่ ๙ อญฺโญ อย่างอื่น ปาตุภาวาย เพื่อความปรากฏขึ้น ภูมิจาลสฺส แห่งการสั่นไหวของแผ่นดิน มหโต ครั้งใหญ่ ภเวยฺย พึงมี ไซร้, ภควา พระผู้มีพระภาค กเถยฺย พึงตรัส เหตุํ ซึ่งเหตุ ตมฺปิ แม้นั้น ฯ

 

ยสฺมา จ โข, ภนฺเต นาคเสน, นตฺถญฺโญ นวโม เหตุ มหโต ภูมิจาลสฺส ปาตุภาวาย, ตสฺมา อนาจิกฺขิโต ภควตา,

ภนฺเต นาคเสน ข้าแต่พระนาคเสนผู้เจริญ เหตุ เหตุ นวโม ลำดับที่ ๙ อญฺโญ อย่างอื่น นตฺถิ ย่อมไม่มี ปาตุภาวาย เพื่อความปรากฏขึ้ืน ภูมิจาลสฺส แห่งการสั่นไหวของแผ่นดิน มหโต ครั้งใหญ่ ยสฺมา จ โข เพราะเหตุใด, ตสฺมา เพราะเหตุนั้น เหตุ เหตุ นวโม ลำดับที่ ๙ อญฺโญ อย่างอื่น ภควตา อันพระผู้มีพระภาค อนาจิกฺขิโต มิทรงตรัสบอกไว้,

 

อยญฺจ นวโม เหตุ ทิสฺสติ มหโต ภูมิจาลสฺส ปาตุภาวาย, ยํเวสฺสนฺตเรน รญฺญา มหาทาเน ทียมาเน สตฺตกฺขตฺตุํ มหาปถวี กมฺปิตาติฯ

อนึ่ง มหาทาเน เมื่อมหาทาน[2] เวสฺสนฺตเรน รญฺญา อันพระราชาทรงพระนามว่า เวสสันดร ทียมาเน ทรงถวายอยู่ มหาปถวี แผ่นดินใหญ่ กมฺปิตา สั่นไหวแล้ว สตฺตกฺขตฺตุํ สิ้น ๗ ครั้ง ยํ ใด, อยํ เวสฺสนฺตเรน รญฺญา มหาทาเน ทียมาเน สตฺตกฺขตฺตุํ มหาปถวิยา กมฺปิตภาโว เมื่อทาน อันพระราชาทรงพระนามว่าเวสสันดร ทรงถวายอยู่ การสั่นไหวแห่งแผ่นดินสิ้น ๗ ครั้ง นี้ นวโมเหตุ เป็นเหตุลำดับที่ ๙ ทิสฺสติ ย่อมปรากฏ ปาตุภาวาย เพื่อความปรากฏขึ้ืน ภูมิจาลสฺส แห่งการสั่นไหวของแผ่นดิน มหโต ครั้งใหญ่ ดังนี้ฯ

 

ยทิ, ภนฺเตนาคเสน, อฏฺเฐว เหตู อฏฺฐ ปจฺจยา มหโต ภูมิจาลสฺส ปาตุภาวาย, เตน หิ เวสฺสนฺตเรนรญฺญา มหาทาเน ทียมาเน สตฺตกฺขตฺตุํ มหาปถวี กมฺปิตาติ ยํ วจนํ, ตํ มิจฺฉาฯ

ภนฺเต นาคเสน ข้าแต่พระนาคเสนผู้เจริญ ยทิ ผิว่า เหตู เหตุทั้งหลาย อฏฺฐ ๘ , ปจฺจยา ปัจจัยทั้งหลาย อฏฺฐเอว เท่านั้น ปาตุภาวาย เพื่อความปรากฏ ภูมิจาลสฺส แห่งการสั่นไหวของแผ่นดิน มหโต ครั้งใหญ่ (โหติ) ย่อมมีแล้วไซร้, เตน หิ ถ้าอย่างนั้น ยํ วจนํ ข้อความใด อิติ ว่า  เวสฺสนฺตเรน รญฺญา อันพระราชาทรงพระนามว่า เวสสันดร ทียมาเน ทรงถวายอยู่ มหาปถวี แผ่นดินใหญ่ กมฺปิตา สั่นไหวแล้ว สตฺตกฺขตฺตุํ ๗ ครั้ง ดังนี้, ตํ วจนํ ข้อความนั้น มิจฺฉา เป็นอันผิดไป ฯ

 

ยทิเวสฺสนฺตเรน รญฺญา มหาทาเน ทียมาเน สตฺตกฺขตฺตุํ มหาปถวี กมฺปิตา, เตน หิ อฏฺเฐวเหตู อฏฺฐ ปจฺจยา มหโต ภูมิจาลสฺส ปาตุภาวายาติ ตมฺปิ วจนํ มิจฺฉาฯ

ยทิ ผิว่า มหาทาเน เมื่อมหาทาน เวสฺสนฺตเรน รญฺญา อันพระราชาทรงพระนามว่า เวสสันดร ทียมาเน ทรงถวายอยู่ มหาปถวี แผ่นดินใหญ่ กมฺปิตา หวั่นไหวแล้ว สตฺตกฺขตฺตุํ ๗ ครั้งแล้วไซร้, เตน หิ ถ้าอย่างนั้น วจนํ ข้อความ ตํ ปิ แม้นั้น อิติ ว่า เหตู เหตุทั้งหลาย อฏฺฐ ๘ , ปจฺจยา ปัจจัยทั้งหลาย อฏฺฐเอว เท่านั้น ปาตุภาวาย เพื่อความปรากฏ ภูมิจาลสฺส แห่งการสั่นไหวของแผ่นดิน มหโต ครั้งใหญ่ ดังนี้ มิจฺฉา เป็นอันผิดฯ

 

อยมฺปิ อุภโตโกฏิโก ปญฺโห สุขุโม ทุนฺนิเวฐิโยอนฺธกรโณ เจว คมฺภีโร จ, โสตวานุปฺปตฺโต, เนโสอญฺเญน อิตฺตรปญฺเญน สกฺกา วิสชฺเชตุํอญฺญตฺร ตวาทิเสน พุทฺธิมตา’’ติฯ

 

อยํ ปิ ปญฺโห ปัญหาแม้นี้ โกฏิโก มีที่สุด อุภโต โดยส่วนสอง สุขุโม ละเอียด ทุนฺนิเวฐิโย เปลื้องได้ยาก อนฺธกรโณ ที่สร้างความมืดมน จ เอว ด้วยนั่นเทียว, คมฺภีโร ลึกซึ้ง ด้วย, โส (ปญฺโห) ปัญหานั้น อนุปฺปตฺโต มาถึงแล้ว ตว แก่ท่าน, เอโส ปญฺโห ปัญหานี้ อญฺญตฺร เว้น ตวาทิเสน บุคคลผู้เช่นกับด้วยท่าน พุทฺธิมตา ผู้มีความรู้ อญฺเญน อันบุคคลเหล่าอื่น อิตฺตรปญฺเญน ผู้มีปัญญาน้อยนิด น สกฺกา ไม่อาจ วิสชฺเชตุํ เพื่ออันตอบ ดังนี้.[3]

 

‘‘ภาสิตมฺเปตํ, มหาราช, ภควตา – ‘อฏฺฐิเม, ภิกฺขเว, เหตู อฏฺฐ ปจฺจยา มหโต ภูมิจาลสฺส ปาตุภาวายาติฯ ยํ เวสฺสนฺตเรน รญฺญา มหาทาเน ทียมาเน สตฺตกฺขตฺตุํ มหาปถวี กมฺปิตา, ตญฺจ ปน อกาลิกํ กทาจุปฺปตฺติกํ อฏฺฐหิ เหตูหิ วิปฺปมุตฺตํ, ตสฺมา อคณิตํ อฏฺฐหิ เหตูหิฯ

 

นาคเสนตฺเถโร พระนาคเสนเถระ อาห ทูลแล้ว อิติว่า มหาราช มหาบพิตร เอตํ วจนํ ข้อความนี้ ภควตา อันพระผู้มีพระภาคเจ้า ภาสิตํ ทรงภาษิตแล้ว อิติ ว่า ภิกฺขเว ดูก่อนภิกษุทั้งหลาย เหตุ เหตุทั้งหลาย อฏฺฐ ๘, ปจฺจยา ปัจจัยทั้งหลาย อฏฺฐอิเม เหล่านี้ โหนฺติ ย่อมมี ปาตุภาวาย เพื่อความปรากฏขึ้ืน ภูมิจาลสฺส แห่งการสั่นไหวของแผ่นดิน มหโต ครั้งใหญ่ ดังนี้.  มหาทาเน เมื่อมหาทาน เวสฺสนฺตเรน รญฺญา อันพระราชาทรงพระนามว่า เวสสันดร ทียมาเน ทรงถวายอยู่ มหาปถวี แผ่นดินใหญ่ กมฺปิตา สั่นไหวแล้ว สตฺตกฺขตฺตุํ สิ้น ๗ ครั้ง ยํ ใด, ตํ ปน เวสฺสนฺตเรน รญฺญา มหาทาเน ทียมาเน สตฺตกฺขตฺตุํ มหาปถวิยา กมฺปนํ  เมื่อทาน อันพระราชาทรงพระนามว่าเวสสันดร ทรงถวายอยู่ การสั่นไหวแห่งแผ่นดินสิ้น ๗ ครั้ง นั้น อกาลิกํ หาได้มีตลอดเวลาไม่ กทาจุปฺปตฺติกํ มีอันเกิดขึ้นในบางเวลา วิปฺปมุตฺตํ ซึ่งพ้นแล้ว อฏฺฐิ เหตูหิ เหตุทั้งหลาย ๘, ตสฺมา เพราะเหตุนั้น ตํ มหาปถวิยา กมฺปนํ การสั่นไหวแห่งแผ่นดินใหญ่นั้น อคณิตํ จึงไม่ทรงนับไว้ อฏฺฐหิ เหตูหิ ด้วยเหตุทั้งหลาย ๘ฯ

 

‘‘ยถา, มหาราช, โลเก ตโย เยว เมฆา คณียนฺติ วสฺสิโก เหมนฺติโก ปาวุสโกติฯ ยทิ เต มุญฺจิตฺวา อญฺโญ เมโฆ ปวสฺสติ, น โส เมโฆ คณียติ สมฺมเตหิ เมเฆหิ, อกาลเมโฆตฺเวว สงฺขํ คจฺฉติฯ เอวเมว โข, มหาราช, เวสฺสนฺตเรน รญฺญา มหาทาเน ทียมาเน ยํ สตฺตกฺขตฺตุํ มหาปถวี กมฺปิตา, อกาลิกํ เอตํ กทาจุปฺปตฺติกํ อฏฺฐหิ เหตูหิ วิปฺปมุตฺตํ, น ตํ คณียติ อฏฺฐหิ เหตูหิฯ

 

มหาราช มหาบพิตร เมฆา ฝนทั้งหลาย ตโยเยว สามชนิดเท่านั้น อิติ คือ วสฺสิโก ฝนที่ตกในฤดูฝน เหมนฺติโก ฝนที่ตกในฤดูหนาวน้ำค้าง ปาวุสโก ฝนปาวุสกะ[4] คณียนฺติ อันบุคคล ย่อมนับไว้ โลเก ในโลก, ยทิ ผิว่า เมโฆ ฝน อญฺโญ ชนิดอื่น มุญฺจิตฺวา พ้น เต ตโย เมฆา ซึ่งฝนทั้งหลาย ๓ เหล่านั้น ปวสฺสติ ย่อมตก ไซร้, โส เมโฆ ฝนนั้น (ปุคฺคเลน) อันบุคคล น คณียติ  ย่อมไม่นับเข้า เมเฆหิ ด้วยฝนทั้งหลาย สมฺมเตหิ อันชาวโลกรู้กันทั่วแล้ว, โส เมโฆ ฝนนั้น คจฺฉติ ย่อมถึง สงฺขํ ซึ่งการนับ อิติ ว่า อกาลเมโฆ ฝนไม่ใช่ในฤดูกาล ดังนี้ เอว นั่นเทียว ยถา ฉันใด, มหาราช มหาบพิตร มหาทาเน ครั้นเมื่อมหาทาน เวสฺสนฺตเรน รญฺญา อันพระราชาทรงพระนามว่า เวสสันดร ทียมาเน ถวายอยู่ มหาปถวี แผ่นดินใหญ่ กมฺปิตา ไหวแล้ว สตฺตกฺขตฺตุํ ๗ ครั้ง ยํ ใด, เอตํ มหาปถวิยา กมฺปนํ การไหวแห่งแผ่นดินใหญ่ นั้น อกาลิกํ เป็นปรากฏการณ์อันไม่มีในกาลทุกเมื่อ กทาจุปตฺติกํ เกิดขึ้นในบางคราว วิปฺปมุตฺตํ พ้นไปแล้วอฏฺฐหิ เหตูหิ จากเหตุทั้งหลาย ๘, ตํ มหาปถวิยา กมฺปนํ การไหวแห่งแผ่นดินใหญ่ นั้น น คณียติ อันบุคคลย่อมไม่นับ อฏฺฐหิ เหตูหิ ด้วยเหตุทั้งหลาย ๘ เอวํ เอว โข ฉันนั้นเหมือนกัน แลฯ

 

‘‘ยถา วา ปน, มหาราช, หิมวนฺตา ปพฺพตา ปญฺจ นทิสตานิ สนฺทนฺติ, เตสํ, มหาราช, ปญฺจนฺนํ นทิสตานํ ทเสว นทิโย นทิคณนาย คณียนฺติฯ เสยฺยถีทํ, คงฺคา ยมุนา อจิรวตี สรภู มหี สินฺธุ สรสฺสตี เวตฺรวตี วีตํสา จนฺทภาคาติ, อวเสสา นทิโย นทิคณนาย อคณิตาฯ กิํ การณา? น ตา นทิโย ธุวสลิลาฯ เอวเมว โข, มหาราช, เวสฺสนฺตเรน รญฺญา มหาทาเน ทียมาเน ยํ สตฺตกฺขตฺตุํ มหาปถวี กมฺปิตา, อกาลิกํ เอตํ กทาจุปฺปตฺติกํ อฏฺฐหิ เหตูหิ วิปฺปมุตฺตํ, น ตํ คณียติ อฏฺฐหิ เหตูหิฯ

 

มหาราช มหาบพิตร วา ปน ก็หรือว่า นทิสตานิ ร้อยแห่งแม่น้ำทั้งหลาย ปญฺจสนฺทนฺติ ย่อมไหลมา ปพฺพตา จากภูเขา หิมวนฺตา ชื่อว่า หิมพานต์, มหาราช มหาบพิตรปญฺจนฺนํ นทิสตานํ บรรดาร้อยแห่งแม่น้ำทั้งหลาย ปญฺจนฺนํเตสํ เหล่านั้น, นทิโย แม่น้ำทั้งหลาย ทเสว ๑๐ นั่นเทียว เสยฺยถีทํ คือ คงฺคา แม่น้ำคงคา, ยมุนา แม่น้ำยมุนา, อจิรวดี แม่น้ำจิรวดี, สรภู แม่น้ำสรภู, มหี แม่น้ำมหี, สินฺธุ แม่น้ำสินธุ, สรสฺสตี แม่น้ำสรัสตี, เวตฺรวตี แม่น้ำเวตรวดี, วีตํสา แม่น้ำวีตังสะ, จนฺทภาคา แม่น้ำจันทภาคะ คณียนฺติ อันบุคคล ย่อมนับ นทิคณนาย โดยการนับว่าเป็นแม่น้ำ, อิติ ด้วยประการฉะนี้, นทิโย แม่น้ำทั้งหลาย อวเสสา อันเหลือลง อคณิตา อันบุคคลไม่นับแล้วนทิคณนาย โดยการนับว่าเป็นแม่น้ำ, (ตาสํ ทสนฺนํ นทีนํ เอว นทิคณนา) การนับซึ่งแม่น้ำทั้งหลาย ๑๐ เหล่านั้นนั่นเทียวว่าเป็นแม่น้ำ โหติ ย่อมมี กิํ การณา เพราะเหตุไร?, หิ เพราะว่า ตา นทิโย แม่น้ำทั้งหลายเหล่านั้น น ธุวสลิลา เป็นแม่น้ำที่มีน้ำอยู่เป็นประจำ หามิได้ ยถา ฉันใด, มหาราช มหาบพิตร มหาทาเน ครั้นเมื่อมหาทาน เวสฺสนฺตเรน รญฺญา อันพระราชาทรงพระนามว่า เวสสันดร ทียมาเน ถวายอยู่ มหาปถวี แผ่นดินใหญ่ กมฺปิตา ไหวแล้ว สตฺตกฺขตฺตุํ ๗ ครั้ง ยํ ใด, เอตํ มหาปถวิยา กมฺปนํ การไหวแห่งแผ่นดินใหญ่ นั้น อกาลิกํ เป็นปรากฏการณ์ไม่มีในกาลทุกเมื่อ กทาจุปตฺติกํ เกิดขึ้นในบางคราว วิปฺปมุตฺตํ พ้นไปแล้ว อฏฺฐหิ เหตูหิ จากเหตุทั้งหลาย ๘, ตํ มหาปถวิยา กมฺปนํ การไหวแห่งแผ่นดินใหญ่ นั้น น คณียติ อันบุคคลย่อมไม่นับ อฏฺฐหิ เหตูหิ ด้วยเหตุทั้งหลาย ๘ เอวเมว โข ฉันนั้นเหมือนกัน แล.

 

‘‘ยถา วา ปน, มหาราช, รญฺโญ สตมฺปิ ทฺวิสตมฺปิ ติสตมฺปิ อมจฺจา โหนฺติ, เตสํ ฉ เยว ชนา อมจฺจคณนาย คณียนฺติฯ เสยฺยถีทํ, เสนาปติ ปุโรหิโต อกฺขทสฺโส ภณฺฑาคาริโก ฉตฺตคฺคาหโก ขคฺคคฺคาหโกฯ เอเต เยว อมจฺจคณนาย คณียนฺติฯ กิํ การณา? ยุตฺตตฺตา ราชคุเณหิ, อวเสสา อคณิตา, สพฺเพ อมจฺจาตฺเวว สงฺขํ คจฺฉนฺติฯ เอวเมว โข, มหาราช, เวสฺสนฺตเรน รญฺญา มหาทาเน ทียมาเน ยํ สตฺตกฺขตฺตุํ มหาปถวี กมฺปิตา, อกาลิกํ เอตํ กทาจุปฺปตฺติกํ อฏฺฐหิ เหตูหิ วิปฺปมุตฺตํ, น ตํ คณียติ อฏฺฐหิ เหตูหิฯ

 

มหาราช มหาบพิตร วา ปน ก็หรือว่าอมจฺจา อำมาตย์ทั้งหลาย สตมฺปิ แม้ ๑๐๐ ทฺวิสตมฺปิ แม้๒๐๐ ติสตมฺปิ แม้ ๓๐๐ รญฺโญ ของพระราชา โหติ ย่อมมี, เตสํ (อมจฺจานํ) แห่งอำมาตย์ทั้งหลายเหล่านั้นหนา ชนา ชนทั้งหลาย เอว นั่นเทียว เสยฺยถีทํ คือ เสนาปติ ผู้เป็นเสนาบดี ปุโรหิโต ผู้เป็นปุโรหิต อกฺขทสฺโส ผู้พิพากษา ภณฺฑาคาริโก ผู้เป็นขุนคลัง ฉตฺตคาหโก ผู้อัญเชิญพระฉัตร ขคฺคคฺคาหโก ผู้อัญเชิญพระขรรค์ อันบุคคล คณียนฺติ ย่อมนับ อมจฺจคณนาย ในการนับว่าเป็นอำมาตย์. เอเตเยว ฉ ชนา ชนทั้งหลาย ๖ เหล่านี้นั่นเทียว (ปุคฺคเลน) อันบุคคล คณียนฺติ ย่อมนับ อมจฺจาคณนาย ในการนับว่าเป็นอำมาตย์. (เอเตสํ ฉนฺนํ ชนานํ อมจฺจคณนา) การนับซึ่งชนทั้งหลาย ๖ เหล่านั้นว่าเป็นอำมาตย์ โหติ ย่อมมี กิํ การณา เพราะเหตุไร? (เอเตสํ ฉนฺนํ ชนานํ อมจฺจคณนา) การนับซึ่งชนทั้งหลาย ๖ เหล่านั้นว่าเป็นอำมาตย์ ยุตฺตตฺตา เพราะความที่แห่งชนทั้งหลายเหล่านั้นเป็นผู้ควรแล้ว ราชคุเณหิ ด้วยคุณ (คืออุปการะ) ต่อพระราชา, อวเสสา อมจฺจา อำมาตย์ทั้งหลาย นอกนี้ อคณิตา อันบุคคลไม่นับแล้ว, สพฺเพ ชนา ชนทั้งหลายทั้งปวง คจฺฉนฺติ ย่อมถึง สงฺขํ ซึ่งการนับ อมจฺจา อิติ เอว ว่าเป็นอำมาตย์เท่านั้น ยถา ฉันใด, มหาราช มหาบพิตร มหาทาเน ครั้นเมื่อมหาทาน เวสฺสนฺตเรน รญฺญา อันพระราชาทรงพระนามว่า เวสสันดร ทียมาเน ถวายอยู่ มหาปถวี แผ่นดินใหญ่ กมฺปิตา ไหวแล้ว สตฺตกฺขตฺตุํ ๗ ครั้ง ยํ ใด, เอตํ มหาปถวิยา กมฺปนํ การไหวแห่งแผ่นดินใหญ่ นั้น อกาลิกํ เป็นปรากฏการณ์ไม่มีในกาลทุกเมื่อ กทาจุปตฺติกํ เกิดขึ้นในบางคราว วิปฺปมุตฺตํ พ้นไปแล้ว อฏฺฐหิ เหตูหิ จากเหตุทั้งหลาย ๘, ตํ มหาปถวิยา กมฺปนํ การไหวแห่งแผ่นดินใหญ่ นั้น (ปุคฺคเลน) อันบุคคลน คณียติ ย่อมไม่นับ อฏฺฐหิ เหตูหิ ด้วยเหตุทั้งหลาย ๘ เอวํ เอว โข ฉันนั้นเหมือนกัน แล.

 

‘‘สุยฺยตินุ โข, มหาราช, เอตรหิ ชินสาสเนกตาธิการานํ ทิฏฺฐธมฺมสุขเวทนียกมฺมํ, กิตฺติ จ เยสํ อพฺภุคฺคตา เทวมนุสฺเสสู’’ติ?

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 


‘‘อาม, ภนฺเต, สุยฺยติ เอตรหิ ชินสาสเน กตาธิการานํ ทิฏฺฐธมฺมสุขเวทนียกมฺมํ, กิตฺติ จ เยสํ อพฺภุคฺคตา เทวมนุสฺเสสุ สตฺต ชนาติ’’

 

 

 

 

 

 

‘‘เก จ เต, มหาราชา’’ติ?

 

 

 

‘‘สุมโน จ, ภนฺเต, มาลากาโร, เอกสาฏโก จ พฺราหฺมโณ, ปุณฺโณ จ ภตโก, มลฺลิกา จ เทวี, โคปาลมาตา จ เทวี, สุปฺปิยา จ อุปาสิกา, ปุณฺณา จ ทาสีติ อิเม สตฺตทิฏฺฐธมฺมสุขเวทนียา สตฺตา, กิตฺติ จ อิเมสํ อพฺภุคฺคตา เทวมนุสฺเสสู’’ติฯ

 

มหาราช มหาบพิตร ทิฏฺฐธมฺมสุขเวทนียกมฺมํ กรรมอันบุคคลพึงเสวยผลคือสุขในปัจจุบัน ด้วย, กิตฺติ เกียรติศัพท์ อพฺภุคฺคตา อันฟุ้งไปเทวมนุสฺเสสุ ในเทวดาและมนุษย์ทั้งหลาย ด้วย กตาธิการานํ แห่งบุคคลผู้มีบุญญาธิการ (กุศลอันยิ่ง) อันทำแล้ว ชินสาสเน ในพระศาสนาของพระชินพุทธเจ้า แล้ว เอตรหิ ในบัดนี้ เยสํ ชนานํ แห่งชนทั้งหลายเหล่าใด,  (เตสํ ชนานํ กตาธิการานํ ทิฏฺฐธมฺมสุขเวทนียกมฺมํ จ, กิตฺติ จ อพฺภุคฺคตา เทวมนุสฺเสสุ) ทิฏฺฐธมฺมสุขเวทนียกมฺมํ กรรมอันบุคคลพึงเสวยผลคือสุขในปัจจุบัน ด้วย, กิตฺติ เกียรติศัพท์ อพฺภุคฺคตา อันฟุ้งไป เทวมนุสฺเสสุ ในเทวดาและมนุษย์ทั้งหลาย ด้วย กตาธิการานํ แห่งบุคคลผู้มีบุญญาธิการ อันทำแล้ว ชินสาสเน ในพระศาสนาของพระชินพุทธเจ้า แล้ว เอตรหิ ในบัดนี้ เตสํ ชนานํ แห่งชนทั้งหลายเหล่านั้น สุยฺยติ อันมหาบพิตร ย่อมทรงสดับมา นุ โข หรือหนอ? ดังนี้

 

ราชา มิลินฺโท พระเจ้ามิลินท์ อาห ตรัสแล้ว อิติ ว่า ภนฺเต ข้าแต่ท่านผู้เจริญ อาม ใช่แล้ว, ทิฏฺฐธมฺมสุขเวทนียกมฺมํ กรรมอันบุคคลพึงเสวยผลคือสุขในปัจจุบัน ด้วย, กิตฺติ เกียรติศัพท์ อพฺภุคฺคตา อันฟุ้งไป เทวมนุสฺเสสุ ในเทวดาและมนุษย์ทั้งหลาย ด้วย กตาธิการานํ แห่งบุคคลผู้มีบุญญาธิการ (กุศลอันยิ่ง) อันทำแล้ว ชินสาสเน ในพระศาสนาของพระชินพุทธเจ้า แล้ว เอตรหิ ในบัดนี้ เยสํ ชนานํ แห่งชนทั้งหลายเหล่าใด (มยา) อันเรา สุยฺยติ ย่อมได้ยิน, สตฺต ชนา ชนทั้งหลาย ๗ เหล่านั้น อตฺถิ มีอยู่ ดังนี้

 

นาคเสนตฺเถโร พระนาคเสนเถระ อาห ทูลถามแล้ว อิติ ว่า มหาราช มหาบพิตรอนึ่ง เต (สตฺต ชนา) ชนทั้งหลาย ๗ เหล่านั้น เก พวกไหนหรือ ดังนี้.

 

ราชา มิลินฺโท พระเจ้ามิลินท์ อาห ตรัสแล้ว อิติ ว่า ภนฺเต ข้าแต่ท่านผู้เจริญอิเมสตฺต (ชนา) ชนทั้งหลาย ๗ เหล่านี้ อิติ คือ สุมโน จ มาลากาโร นายช่างดอกไม้ชื่อว่าสุมนด้วย, เอกสาฏโก จ พฺราหฺมโณ พราหมณ์ชื่อเอกสาฎกด้วย, ปุณฺโณ จ ภตโก ลูกจ้าง ชื่อ ปุณณะด้วย, มลฺลิกา จ เทวี พระเทวีพระนามว่ามัลลิกาด้วย, โคปาลมาตา จ เทวี พระเทวีพระนามว่า โคปาลมารดาด้วย, สุปฺปิยา จ อุปาสิกา อุบาสิกาชื่อว่าสุปปิยาด้วย, ปุณฺณา จ ทาสี นางทาสีชื่อว่า ปุณณา ด้วย, สตฺตา (ชนา) ชนท. ๗ (อิเม) เหล่านี้ ทิฏฺฐธมฺมสุขเวทนียา เป็นผู้มีบุญญาธิการอันเป็นที่ตั้งแห่งสุขอันพึงเสวยในปัจจุบัน (โหนฺติ) ย่อมเป็น, กิตฺติ จ และเกียรติศัพท์ อิเมสํ (สตฺตนฺนํ ชนานํ) แห่งชนทั้งหลาย ๗ เหล่านี้ อพฺภุคฺคตา ฟุ้งขจรแล้ว เทวมนุสฺเสสุ ในหมู่เทวดาและมนุษย์ทั้งหลาย ดังนี้

 

‘‘อปเรปิ สุยฺยนฺติ นุ โข อตีเต มานุสเกเนว สรีรเทเหน ติทสภวนํคตา’’ติ?

 

 

 

 

 ‘‘อาม, ภนฺเต, สุยฺยนฺตี’’ติฯ

 

 

 

 

 

‘‘เก จ เต, มหาราชา’’ติ?

 

 

 


‘‘คุตฺติโล จคนฺธพฺโพ, สาธีโน จ ราชา, นิมิ จ ราชา, มนฺธาตา จ ราชาติ อิเม จตุโร ชนา สุยฺยนฺติ, เตเนว มานุสเกน สรีรเทเหน ติทสภวนํ คตา’’ติฯ ‘‘สุจิรมฺปิ กตํ สุยฺยติสุกตทุกฺกฏนฺติ?

 

 

 

 

 

 

 

 

สุตปุพฺพํ ปน ตยา, มหาราช, อตีเต วา อทฺธาเน วตฺตมาเน วา อทฺธาเน อิตฺถนฺนามสฺส ทาเน ทียมาเน สกิํ วา ทฺวิกฺขตฺตุํ วา ติกฺขตฺตุํ วา มหาปถวีกมฺปิตา’’ติ?

 

 

 

 


 ‘‘น หิ ภนฺเต’’ติฯ

 

 

 

 

 

‘‘อตฺถิ เม, มหาราช, อาคโม อธิคโม ปริยตฺติ สวนํสิกฺขาพลํ สุสฺสูสา ปริปุจฺฉา อาจริยุปาสนํ, มยาปิ น สุตปุพฺพํ อิตฺถนฺนามสฺส ทาเนทียมาเน สกิํ วา ทฺวิกฺขตฺตุํ วา ติกฺขตฺตุํ วา มหาปถวี กมฺปิตาติ ฐเปตฺวา เวสฺสนฺตรสฺส ราชวสภสฺส ทานวรํฯ

 

 

 

 

 

 

 

ภควโต จ, มหาราช, กสฺสปสฺส, ภควโต จ สกฺยมุนิโนติ ทฺวินฺนํ พุทฺธานํ อนฺตเร คณนปถํ วีติวตฺตา วสฺสโกฏิโย อติกฺกนฺตา, ตตฺถปิ เม สวนํ นตฺถิอิตฺถนฺนามสฺส ทาเน ทียมาเน สกิํ วา ทฺวิกฺขตฺตุํ วา ติกฺขตฺตุํ วา มหาปถวีกมฺปิตาติฯ

 

 

 

 

 

 

 

, มหาราช, ตาวตเกน วีริเยน ตาวตเกน ปรกฺกเมน มหาปถวี กมฺปติ, คุณภารภริตา, มหาราช, สพฺพโสเจยฺยกิริยคุณภารภริตา ธาเรตุํ น วิสหนฺตี มหาปถวี จลติ กมฺปติ ปเวธติฯ

 

นาคเสนตฺเถโร พระนาคเสนเถระ อาห ทูลแล้ว อิติ ว่า อปเรปิ (ชนา) ชนทั้งหลายแม้เหล่าอื่น คตา ผู้ไปแล้ว ติทสภวนํ สู่ภพชื่อว่าดาวดึงษ์ สรีรเทเหน ด้วยสรีระร่างกาย มานุสเกน เอว อันเป็นอัตภาพแห่งมนุษย์นั่นเทียว[5] อตีเต ในอดีต สุยฺยนฺติ (ตยา) อันมหาบพิตร สุยฺยนฺติ ย่อมทรงสดับ นุ โข หรือหนอ ดังนี้?

 

ราชา มิลินฺโท พระเจ้ามิลินท์ อาห ตรัสแล้ว อิติ ว่า ภนฺเต ข้าแต่ท่านผู้เจริญ อาม ใช่แล้ว, อปเรปิ (ชนา) ชนทั้งหลายแม้เหล่าอื่น คตา ผู้ไปแล้ว ติทสภวนํ สู่ภพชื่อว่าดาวดึงษ์ สรีรเทเหน ด้วยทั้งสรีระร่างกาย มานุสเกน เอว อันเป็นอัตภาพแห่งมนุษย์นั่นเทียว อตีเต ในอดีต (มยา) อันเรา สุยฺยนฺติ ย่อมฟังมา ดังนี้.

 

นาคเสนตฺเถโร พระนาคเสนเถระ อาห ทูลแล้ว อิติ ว่า มหาราช มหาบพิตร เต (ชนา) ชนทั้งหลายแม้เหล่านั้น คตา ผู้ไปแล้ว ติทสภวนํ สู่ภพชื่อว่าดาวดึงษ์ สรีรเทเหน ด้วยทั้งสรีระร่างกาย มานุสเกน เอว อันเป็นอัตภาพแห่งมนุษย์นั่นเทียว เก เหล่าไหน ดังนี้.

 

ราชา มิลินฺโท พระเจ้ามิลินท์ อาห ตรัสแล้ว อิติ ว่า อิเม จตุโร ชนา ชนทั้งหลาย ๔ เหล่านี้ อิติ คือ คุตฺติโล จ คนฺธพฺโพ พระราชาทรงพระนามว่าคุตติลคันธัพพะ ด้วย, สาธิโน จ ราชา พระราชาทรงพระนามว่า สาธีนะ ด้วย, นิมิ จ ราชา พระราชาทรงพระนามว่านิมิ ด้วย, มนฺธาตา จ ราชา พระราชาทรงพระนามว่ามันธาตะ ด้วย (มยา) อันเรา สุยฺยนฺติ ย่อมฟังมา,  อิเม จตุโร ชนา ชนทั้งหลาย ๔ เหล่านี้ คตา เป็นผู้ไปแล้ว ติทสภวนํ สู่ภพชื่อว่าดาวดึงษ์ สรีรเทเหน ด้วยสรีระร่างกาย มานุสเกน อันเป็นอัตภาพแห่งมนุษย์ เตน เอว นั้นนั่นเทียว โหนฺติ ย่อมเป็น ดังนี้.  สุกตทุกฺกฏํ กรรมดีอันไม่ใช่กรรมชั่ว (เตหิ) อันชนทั้งหลายเหล่านั้น กตํ กระทำแล้ว สุจิรมฺปิ แม้สืบเนื่องนานมาแล้ว (มยา) อันเรา สุยฺยติ ย่อมฟังมา ดังนี้[6].

 

นาคเสนตฺเถโร พระนาคเสนเถระ อาห ทูลแล้ว อิติ ว่า มหาราช มหาบพิตร ปน ก็แต่ว่า อตีเต อทฺธาเน ในกาลอันล่วงไปแล้ว วา หรือ วา หรือว่า วตฺตมาเน อทฺธาเน ในกาลอันกำลังเป็นไป ทาเน เมื่อทาน อิตฺถนฺนามสฺส อันบุคคลชื่อนี้ ทียมาเน ถวายอยู่ มหาปถวี แผ่นดินใหญ่ กมฺปิตา ไหวแล้ว สกิํ วา หนึ่งครั้ง หรือ ทฺวิกฺขตฺตุํ วา หรือว่า สองครั้ง ติกฺขตฺตุํ วา หรือว่า สามครั้ง (ยํ) ใด, (ตํ มหาปถวีกมฺปนํ) ความไหวแห่งแผ่นดินใหญ่นั้น ตยา อันมหาบพิตร สุตปุพฺพํ ฟังแล้วในกาลก่อน หรือ ? ดังนี้.

 

ราชา มิลินฺโท พระเจ้ามิลินท์ อาห ตรัสแล้ว อิติ ว่า ภนฺเต ข้าแต่ท่านผู้เจริญ หิ ก็ ทาเน เมื่อทาน อิตฺถนฺนามสฺส อันบุคคลชื่อนี้ ทียมาเน ถวายอยู่ มหาปถวี แผ่นดินใหญ่ กมฺปิตา ไหวแล้ว สกิํ วา หนึ่งครั้งหรือ ทฺวิกฺขตฺตุํ วา หรือว่า สองครั้ง ติกฺขตฺตุํ วา หรือว่า สามครั้ง (ยํ) ใด, (ตํ มหาปถวีกมฺปนํ) ความไหวแห่งแผ่นดินใหญ่นั้น มยา อันเรา น สุตปุพฺพํ ไม่ได้ฟังแล้วในกาลก่อน ดังนี้.

 

นาคเสนตฺเถโร พระนาคเสนเถระ อาห ทูลแล้ว อิติ ว่า มหาราช มหาบพิตร อาคโม พระบาฬีเป็นที่มา อธิคโม มรรคผล ปริยตฺติ พระปริยัตติ สวนํ การสดับ สิกฺขาพลํ กำลังแห่งการศึกษาปฏิบัติ สุสฺสูสา การฟังด้วยดี ปริปุจฺฉา การไต่ถาม อาจริยุปาสนํ การอยู่ในสำนักอาจารย์[7] เม ของอาตมภาพ อตฺถิ มีอยู่ ฐเปตฺวา เว้น ทานวรํ การให้อันประเสริฐ เวสฺสนฺตรสฺส ราชวสภสฺส ของพระราชาประเสริฐ ทรงพระนามว่า เวสสันดร, วจนํ ข้อความ อิติ ว่า ทาเน เมื่อทาน อิตฺถนฺนามสฺส อันบุคคลชื่อนี้ ทียมาเน ถวายอยู่ มหาปถวี แผ่นดินใหญ่ กมฺปิตา ไหวแล้ว สกิํ วา หนึ่งครั้ง หรือ ทฺวิกฺขตฺตุํ วา หรือว่า สองครั้ง ติกฺขตฺตุํ วา หรือว่า สามครั้ง ดังนี้ มยา อันอาตมภาพ น สุตปุพฺพํ ไม่เคยได้ฟังแล้ว.

 

มหาราช มหาบพิตร วสฺสโกฏิโย โกฏิแห่งปีทั้งหลาย วีติวตฺตา อันล่วงไปวิเศษแล้ว คณนปถํ ซึ่งหนทางแห่งการนับ อติกฺกนฺตา ล่วงไปแล้ว อนฺตเร ในระหว่าง พุทฺธานํ แห่งพระพุทธเจ้าทั้งหลาย ทฺวินฺนํ สองพระองค์ อิติ คือ ภควโต กสฺสปสฺส แห่งพระผู้มีพระภาคทรงพระนามว่า กัสสปะ ด้วย, ภควโต สกฺยมุนิโน แห่งพระผู้มีพระภาคศากยมุนี ด้วย, ตตฺถปิ (ทฺวินฺนํ พุทฺธานํ อนฺตเร) แม้ในระหว่างแห่งพระพุทธเจ้าทั้งหลายสองพระองค์นั้น สวนํ การสดับ เม ของอาตมภาพ อิติ ว่า ทาเน เมื่อทาน อิตฺถนฺนามสฺส อันบุคคลชื่อนี้ ทียมาเน ถวายอยู่ มหาปถวี แผ่นดินใหญ่ กมฺปิตา ไหวแล้ว สกิํ วา ครั้งเดียวหรือ ทฺวิกฺขตฺตุํ วา หรือว่า สองครั้ง ติกฺขตฺตุํ วา หรือว่า สามครั้ง ดังนี้ นตฺถิ ย่อมไม่มี ดังนี้,

 

มหาราช มหาบพิตร มหาปถวี แผ่นดินใหญ่ กมฺปติ ย่อมหวั่นไหว วีริเยน ด้วยความเพียร ตาวเกน เพียงนั้น ปรกฺกเมน ด้วยความบากบั่น ตาวเกน เพียงนั้น หามิได้, มหาราช มหาบพิตร มหาปถวี แผ่นดินใหญ่ คุณภารภาริตา อันหนักแล้วด้วยของหนักคือคุณ สพฺพโสเจฺยกิริยาคุณภารภริตา อันหนักแล้วด้วยของหนัก คือ คุณที่พึงกระทำด้วยจิตที่สะอาดโดยประการทั้งปวง น วิสหนฺตี เมื่ออดกลั้นไม่ได้ ธาเรตุํ เพื่อทรงไว้ จลติ ย่อมไหว กมฺปติ ย่อมหวั่นไหว ปเวธติ ย่อมสะเทือน ดังนี้.

 

‘‘ยถา, มหาราช, สกฏสฺส อติภารภริตสฺส นาภิโย จ เนมิโย จ ผลนฺติ อกฺโข ภิชฺชติ, เอวเมว โข, มหาราช, สพฺพโสเจยฺยกิริยคุณภารภริตา มหาปถวี ธาเรตุํ น วิสหนฺตี จลติ กมฺปติ ปเวธติฯ

 

มหาราช มหาบพิตร สกฏสฺส เมื่อเกวียน อติภารภริตสฺส อันหนักแล้วด้วยของหนักเกิน สนฺตสฺส มีอยู่, นาภิโย จ ดุม ด้วย เนมิโย จ กง ด้วย ผลนฺติ ย่อมฉีกอ้าออก อกฺโข เพลา ภิชฺชติ ย่อมหัก ยถา ฉันใด, มหาราช มหาบพิตร, มหาปถวี แผ่นดินใหญ่ คุณภารภาริตา อันหนักแล้วด้วยของหนักคือคุณ สพฺพโสเจฺยกิริยาคุณภารภริตา อันหนักแล้วด้วยของหนักคือคุณที่พึงกระทำด้วยจิตที่สะอาดโดยประการทั้งปวง น วิสหนฺตี เมื่อไม่อาจ ธาเรตุํ เพื่อทรงไว้ จลติ ย่อมไหว กมฺปติ ย่อมหวั่นไหว ปเวธติ ย่อมสะเทือน เอวํ เอว โข ฉันนั้น นั่นเทียว แล.

 

‘‘ยถา วา ปน, มหาราช, คคนํ อนิลชลเวคสญฺฉาทิตํ อุสฺสนฺนชลภารภริตํ อติวาเตน ผุฏิตตฺตา นทติ รวติ คฬคฬายติ, เอวเมว โข, มหาราช, มหาปถวี รญฺโญ เวสฺสนฺตรสฺส ทานพลวิปุลอุสฺสนฺนภารภริตา ธาเรตุํ น วิสหนฺตี จลติ กมฺปติ ปเวธติฯ

 

 

 

 

 

 

 

น หิ, มหาราช, รญฺโญ เวสฺสนฺตรสฺส จิตฺตํ ราควเสน ปวตฺตติ, น โทสวเสน ปวตฺตติ, น โมหวเสน ปวตฺตติ, น มานวเสน ปวตฺตติ, น ทิฏฺฐิวเสน ปวตฺตติ, น กิเลสวเสน ปวตฺตติ, น วิตกฺกวเสน ปวตฺตติ, น อรติวเสน ปวตฺตติ, อถ โข ทานวเสน พหุลํ ปวตฺตติ กินฺติ อนาคตา ยาจกา มม สนฺติเก อาคจฺเฉยฺยุํ, อาคตา จ ยาจกา ยถากามํ ลภิตฺวา อตฺตมนา ภเวยฺยุนฺติ สตตํ สมิตํ ทานํ ปติ มานสํ ฐปิตํ โหติฯ

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

รญฺโญ, มหาราช, เวสฺสนฺตรสฺส สตตํ สมิตํ ทสสุ ฐาเนสุ มานสํ ฐปิตํ โหติ ทเม สเม ขนฺติยํ สํวเร ยเม นิยเม อกฺโกเธ อวิหิํสายํ สจฺเจ โสเจยฺเยฯ

 

 

 

 

รญฺโญ, มหาราช, เวสฺสนฺตรสฺส กาเมสนา ปหีนา, ภเวสนา ปฏิปฺปสฺสทฺธา, พฺรหฺมจริเยสนาย เยว อุสฺสุกฺกํ อาปนฺโน,

 

 

 

 

 

รญฺโญ, มหาราช, เวสฺสนฺตรสฺส อตฺตรกฺขา ปหีนา, สพฺพสตฺตรกฺขาย อุสฺสุกฺกํ อาปนฺโน กินฺติ อิเม สตฺตา สมคฺคา อสฺสุ อโรคา สธนา ทีฆายุกาติ พหุลํ เยว มานสํ ปวตฺตติฯ

 

 

 

 

 

 

 

ททมาโน จ, มหาราช, เวสฺสนฺตโร ราชา ตํ ทานํ น ภวสมฺปตฺติเหตุ เทติ, น ธนเหตุ เทติ, น ปฏิทานเหตุ เทติ, น อุปลาปนเหตุ เทติ, น อายุเหตุ เทติ, น วณฺณเหตุ เทติ, น สุขเหตุ เทติ, น พลเหตุ เทติ, น ยสเหตุ เทติ, น ปุตฺตเหตุ เทติ, น ธีตุเหตุ เทติ, อถ โข สพฺพญฺญุตญาณเหตุ สพฺพญฺญุตญาณรตนสฺส การณา เอวรูเป อตุลวิปุลานุตฺตเร ทานวเร อทาสิ, สพฺพญฺญุตํ ปตฺโต จ อิมํ คาถํ อภาสิ

 

มหาราช มหาบพิตร วา ปน ก็หรือว่า คคนํ ท้องฟ้า อนิลชลเวคสญฺฉาทิตํ อันกำลังแห่งลมและเมฆบดบังแล้ว อุสฺสนฺนชลภารภริตํ อันหนักแล้วด้วยของหนักคือเมฆอันหนาแน่นแล้ว[8] นทติ ย่อมคำราม รวติ ย่อมร้อง คฬคฬายติ ย่อมกระทําเสียงครืนครัน อติวาเตน ผุฏิตตฺตา เพราะความที่ท้องฟ้านั้นเป็นธรรมชาติอันลมแรงกระทบแล้ว ยถา ฉันใด, มหาราช มหาบพิตร มหาปถวี แผ่นดินใหญ่ ทานพลวิปุลอุสฺสนฺนภารภริตา อันหนักแล้วด้วยของหนักอันไพบูลย์อันหนาแน่นขึ้นแล้ว คือ กำลังแห่งทาน รญฺโญ เวสฺสนฺตรสฺส แห่งพระราชาทรงพระนามว่า เวสสันดร น วิสหนฺตี เมื่อไม่อาจ ธาเรตุํ เพื่อทรงไว้ จลติ ย่อมสั่น กมฺปติ ย่อมหวั่นไหว ปเวธติ ย่อมสะเทือน เอวํ เอว โข ฉันนั้นนั่นเทียว

 

มหาราช มหาบพิตร จิตฺตํ พระทัย รญฺโญ เวสฺสนฺตรสฺส ของพระราชาทรงพระนามว่าเวสสันดร ปวตฺตติ ย่อมเป็นไป ราควเสน ด้วยอำนาจแห่งราคะ หามิได้, ปวตฺตติ ย่อมเป็นไป โทสวเสน ด้วยอำนาจแห่งโทสะ หามิได้, ปวตฺตติ ย่อมเป็นไป โมหวเสน ด้วยอำนาจแห่งโมหะ หามิได้, ปวตฺตติ ย่อมเป็นไป มานวเสน ด้วยอำนาจแห่งมานะ หามิได้, ปวตฺตติ ย่อมเป็นไป ทิฏฺฐิวเสน ด้วยอำนาจแห่งทิฏฐิ หามิได้, ปวตฺตติ ย่อมเป็นไป กิเลสวเสน ด้วยอำนาจแห่งกิเลส หามิได้, ปวตฺตติ ย่อมเป็นไป วิตกฺกวเสน ด้วยอำนาจแห่งวิตก (มิจฉาวิตก) หามิได้, ปวตฺตติ ย่อมเป็นไป อรติวเสน ด้วยอำนาจแห่งความไม่ยินดี (ในอธิกุศล) หามิได้, อถ โข โดยที่แท้ ปวตฺตติ ย่อมเป็นไป พหุลํ โดยมาก ทานวเสน ด้วยอำนาจแห่งการให้,  มานสํ พระทัย ฐปิตํ เป็นธรรมชาติอันพระองค์ทรงตั้งไว้ ทานํ ปติ เฉพาะซึ่งทาน สตตํ ตลอดกาล สมิตํ สม่ำเสมอ อิติ ว่า ยาจกา บุคคลผู้ขอ อนาคตา ผู้ยังไม่มาแล้ว อาคจฺเฉยฺยุํ พึงมา สนฺติเก ในสำนัก มม ของเรา ด้วย, ยาจกา บุคคลผู้ขอ อาคตา ผู้มาแล้ว เป็นผู้ - ลภิตฺวา ครั้นได้แล้ว ยถากามํ ซึ่งวัตถุอันเป็นที่ชื่นชอบอย่างไร - อตฺตมนา มีใจอันความยินดีถูกต้องแล้ว (หรือ มีใจเป็นของตนแล้ว) ภเวยฺยุํ พึงเป็น กินฺติ ได้อย่างไร ดังนี้.

 

มหาราช มหาบพิตร มานสํ พระทัย รญฺโญ เวสฺสนฺตรสฺส อันพระราชาทรงพระนามว่า เวสสันดร ฐปิตํ ตั้งอยู่แล้ว ฐาเนสุ ในฐานะทั้งหลาย ทสสุ ๑๐ สตตํ เนืองๆ สมิตํ สม่ำเสมอ (อิติ) คือ ทเม ในการฝึก สเม ในความสม่ำเสมอ ขนฺติยํ ในความอดกลั้น สํวเร ในความสำรวม ยเม ในความยับยั้งชั่งใจ นิยเม ในความกำหนดแน่นอน อกฺโกเธ ในความไม่โกรธ อวิหิํสายํ ในความไม่เบียดเบียน สจฺเจ ในสัจจะ โสเจยฺเย ในความเป็นธรรมชาติสะอาด.

 

มหาราช มหาบพิตร กาเมสนา การแสวงหากาม รญฺโญ เวสฺสนฺตรสฺส อันพระราชาทรงพระนามว่า เวสสันดร ปหีนา ทรงละแล้ว, ภเวสนา การแสวงหาภพ (รญฺโญ เวสฺสนฺตรสฺส) ของพระราชาทรงพระนามว่า เวสสันดร ปฏิปสฺสทฺธา สงบระงับแล้ว, โส ราชา เวสฺสนฺตโร พระราชาทรงพระนามว่าเวสสันดร พระองค์นั้น อาปนฺโน ทรงถึงทั่วแล้ว อุสฺสุกฺกํ ซึ่งความขวนขวาย พฺรหฺมจริเยสนาย ซึ่งการแสวงซึ่งพรหมจรรย์ เอว นั่นเทียว,

 

มหาราช มหาบพิตร อตฺตรกฺขา การรักษาซึ่งพระองค์เอง รญฺโญ เวสฺสนฺตรสฺส อันพระราชาทรงพระนามว่า เวสสันดร ปหีนา ทรงละแล้ว, โส ราชา เวสฺสนฺตโร พระราชาทรงพระนามว่า เวสสันดร พระองค์นั้น อาปนฺโน ทรงถึงทั่วแล้ว อุสฺสุกฺกํ ซึ่งความขวนขวาย สพฺพสตฺตรกฺขาย เพื่อการรักษาซึ่งสัตว์ทั้งปวง, มานสํ พระทัย ปวตฺตติ ย่อมเป็นไป พหุลํ มาก เอว นั่นเทียว อิติ ว่า อิเม สตฺตา สัตว์ทั้งหลาย เหล่านี้ สมคฺคา เป็นผู้พร้อมเพียงกัน  อโรคา เป็นผู้ไม่มีโรค สธนา เป็นผู้มีทรัพย์ ทีฆายุกา มีอายุยาวนาน อสฺสุ พึงเป็น กินฺติ อย่างไรหนอ ดังนี้.

 

มหาราช มหาบพิตร อนึ่ง เวสฺสนฺตโร ราชา พระราชาทรงพระนามว่า เวสสันดร ททมาโน เมื่อให้ เทติ ย่อมทรงให้ ภวสมฺปตฺติเหตุ เพราะเหตุแห่งภพสมบัติ หามิได้, เทติ ย่อมทรงให้ ธนเหตุ เพราะเหตุแห่งทรัพย์ หามิได้, เทติ ย่อมทรงให้ ปฏิทานเหตุ เพราะเหตุแห่งการให้คืน หามิได้, เทติ ย่อมทรงให้ อุปลาปนเหตุ เพราะเหตุแห่งการเกลี้ยกล่อม (หรือเพราะเหตุแห่งการทูต) หามิได้, เทติ ย่อมทรงให้ อายุเหตุ เพราะเหตุแห่งอายุ หามิได้, เทติ ย่อมทรงให้ วณฺณเหตุ เพราะเหตุแห่งวรรณะ หามิได้, เทติ ย่อมทรงให้ สุขเหตุ เพราะเหตุแห่งสุข หามิได้, เทติ ย่อมทรงให้ พลเหตุ เพราะเหตุแห่งกำลัง หามิได้, เทติ ย่อมทรงให้ ยสเหตุ เพราะเหตุแห่งยศ หามิได้, เทติ ย่อมทรงให้ ปุตฺตเหตุ เพราะเหตุแห่งบุตรชาย หามิได้, เทติ ย่อมทรงให้ ธีตุเหตุ เพราะเหตุแห่งธิดา หามิได้, อถ โข โดยที่แท้ อทาสิ ได้ทรงให้แล้ว ทานวเร ซึ่งทานอันประเสริฐทั้งหลาย อตุลวิปุลานุตฺตเร อันหาทานอื่นมาเปรียบมิได้ทั้งไพบูลย์ทั้งหาทานอื่นสูงกว่ามิได้ เอวรูเป อันมีอย่างนี้เป็นรูป (เห็นปานฉะนี้) สพฺพญฺญุตญาณเหตุ เพราะเหตุแห่งพระสัพพัญญุตญาณ การณา เพราะเหตุ สพฺพญฺญุตญาณรตนสฺส แห่งรัตนะคือพระสัพพัญญุตญาณ, อนึ่ง โส ราชา เวสฺสนฺตโร พระราชาทรงพระนามว่าเวสสันดร พระองค์นั้น ปตฺโต ครั้นทรงบรรลุแล้ว สพฺพญฺญุตํ ซึ่งพระสัพพัญญุตญาณ อภาสิ ได้ตรัสแล้ว อิมํ คาถํ ซึ่งพระคาถานี้ อิติ ว่า

 

‘‘‘ชาลิํ กณฺหาชินํ ธีตํ,

มทฺทิเทวิํ ปติพฺพตํ;

จชมาโน น จินฺเตสิํ,

โพธิยา เยว การณาติฯ

 

อหํ เรา จชมาโน เมื่อสละ (ปุตฺตํ) ซึ่งบุตร ชาลิํ ชื่อว่า ชาลี ธีตํ ซึ่งธิดา กณฺหาชินํ ชื่อว่า กัณหาชินา ปติพฺพตํ ซึ่งภรรยาผู้ภักดีในพระภัสดา มทฺทิเทวิํ ชื่อว่า มัทรีเทวี การณา เพราะเหตุ โพธิยา แห่งพระโพธิญาณ เอว นั่นเทียว จินฺเตสิํ  คิดแล้ว (สนฺตาปวเสน[9]) ด้วยอำนาจแห่งความร้อนใจ หามิได้ (ไม่คิดเสียดาย)

 

"เวสฺสนฺตโร, มหาราช, ราชา อกฺโกเธน โกธํ ชินาติ, อสาธุํ สาธุนา ชินาติ, กทริยํ ทาเนน ชินาติ, อลิกวาทินํ สจฺเจน ชินาติ, สพฺพํ อกุสลํ กุสเลน ชินาติฯ

 

 

 

 

ตสฺส เอวํ ททมานสฺส ธมฺมานุคตสฺส ธมฺมสีสกสฺส ทานนิสฺสนฺทพลววีริยวิปุลวิปฺผาเรน เหฏฺฐา มหาวาตา สญฺจลนฺติ สณิกํ สณิกํ สกิํ สกิํ อากุลากุลา วายนฺติ โอนมนฺติ อุนฺนมนฺติ วินมนฺติ, ฉินฺนปตฺตปาทปา ปปตนฺติ, คุมฺพํ คุมฺพํ วลาหกา คคเน สนฺธาวนฺติ, รโชสญฺจิตา วาตา ทารุณา โหนฺติ, คคนํ อุปฺปีฬิตา วาตา วายนฺติ, สหสา ธมธมายนฺติ, มหาภีโม สทฺโท นิจฺฉรติ, เตสุ วาเตสุ กุปิเตสุ อุทกํ สณิกํ สณิกํ จลติ, อุทเก จลิเต ขุพฺภนฺติ มจฺฉกจฺฉปา, ยมกยมกา อูมิโย ชายนฺติ, ชลจรา สตฺตา ตสนฺติ, ชลวีจิ ยุคนทฺโธ วตฺตติ, วีจินาโท ปวตฺตติ, โฆรา พุพฺพุฬา อุฏฺฐหนฺติ, เผณมาลา ภวนฺติ, อุตฺตรติ มหาสมุทฺโท, ทิสาวิทิสํ ธาวติ อุทกํ, อุทฺธํโสตปฏิโสตมุขา สนฺทนฺติ สลิลธารา,

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

ตสนฺติ อสุรา ครุฬา นาคา ยกฺขา, อุพฺพิชฺชนฺติ กิํ นุ โข, กถํ นุ โข, สาคโร วิปริวตฺตตีติ, คมนปถเมสนฺติ ภีตจิตฺตา, ขุภิเต ลุฬิเต ชลธาเร ปกมฺปติ มหาปถวี สนคา สสาครา, ปริวตฺตติ สิเนรุคิริ กูฏเสลสิขโร วินมมาโน โหติ, วิมนา โหนฺติ อหินกุลพิฬารโกฏฺฐุกสูกรมิคปกฺขิโน, รุทนฺติ ยกฺขา อปฺเปสกฺขา, หสนฺติ ยกฺขา มเหสกฺขา กมฺปมานาย มหาปถวิยาฯ

 

มหาราช มหาบพิตร เวสฺสนฺตโร ราชา พระราชาทรงพระนามว่า เวสสันดร ชินาติ ย่อมทรงชนะ โกธํ ซึ่งคนโกรธ อกฺโกเธน ด้วยความไม่โกรธ, ชินาติ ย่อมทรงชนะ อสาธุํ ซึ่งคนไม่ดี สาธุนา ด้วยความดี, ชินาติ ย่อมทรงชนะ กทริยํ ซึ่งคนตระหนี่ ทาเนน ด้วยการให้, ชินาติ ย่อมทรงชนะ อลิกวาทินํ ซึ่งชนผู้มีปกติพูดเหลาะแหละ สจฺเจน ด้วยคำจริง, ชินาติ ย่อมทรงชนะ อกุสลํ ซึ่งอกุศล สพฺพํ ทั้งปวง กุสเลน ด้วยกุศล.

 

ตสฺส (เวสฺสนฺตรสฺส รญฺโญ) เมื่อพระราชาทรงพระนามว่า เวสสันดร พระองค์นั้น ธมฺมานุคตสฺส ผู้ดำเนินตามไปโดยธรรม ธมฺมสีสกสฺส ทรงมีธรรมเป็นใหญ ททมานสฺส ทรงให้อยู่ เอวํ อย่างนี้ มหาวาตา ลมใหญ่ทั้งหลาย เหฏฺฐา ข้างล่าง สญฺจลนฺติ ย่อมสั่นไหว วายนฺติ ย่อมเคลื่อน อากุลา อากุลา วนไป วนไป สณิกํ สณิกํ ค่อยๆ สกิํ สกิํ ทีละครั้ง โอนมติ ย่อมพัดลง อุนฺนมติ ย่อมพัดขึ้น วินมนฺติ ย่อมพัดไปทางต่างๆ ทานนิสฺสนฺทพลววีริยวิปุลวิปฺผาเรน[10]  เพราะการแผ่ไปกว้างไกล และความเพียรมีกำลังอันเป็นผลอันหลั่งไหลของทาน, ฉินฺนปตฺตปาทปา ต้นไม้มีใบขาดแล้วทั้งหลาย ปปตนฺติ ย่อมร่วงหล่น, วลาหกา เมฆฝนทั้งหลาย สนฺธาวนฺติ ย่อมแล่นไป คุมฺพา คุมฺพา เป็นกลุ่มๆ คคเน ในท้องฟ้า, ธมธมายนฺติ ย่อมส่งเสียงตึงตัง สหสา อย่างรุนแรง (ดังสนั่น)[11], สทฺโท เสียง มหาภีโม ดังน่ากลัว นิจฺฉรติ ย่อมเปล่งออก, เตสุ วาเตสุ เมื่อลมทั้งหลาย กุปิเตสุ อันกำเริบแล้ว อุทกํ น้ำ จลติ ย่อมกระเพื่อม สณิกํ สณิกํ ทีละหน่อยๆ, อุทเก เมื่อน้ำ จลิเต กระเพื่อมแล้ว, มจฺฉกจฺฉปา ปลาและเต่าทั้งหลาย ขุพฺภนฺติ ย่อมหวั่นไหว (พล่านไป), อูมิโย คลื่นทั้งหลาย ยมกยมกา ชายนฺติ ย่อมเกิดเป็นคู่ๆ, สตฺตา สัตว์ทั้งหลาย ชลจรา ที่เที่ยวไปในน้ำ ตสนฺติ ย่อมสะดุ้งกลัว, ชลวีจิ คลื่นแห่งน้ำ ยุคนทฺโธ อันเนื่องเป็นคู่ วตฺตติ ย่อมเป็นไป, วีจินาโท เสียงคำรามแห่งคลื่น ปวตฺตติ ย่อมเป็นไป, พุพฺพุฬา ต่อมน้ำ โฆรา อันหยาบ อุฏฺฐหนฺติ ย่อมตั้งขึ้น, เผณมาลา ระเบียบแห่งฟอง ภวนฺติ ย่อมเกิด, มหาสมุทฺโท มหาสมุทร อุตฺตรติ ย่อมขึ้น (มีน้ำสูงขึ้น), อุทกํ น้ำ ธาวติ ย่อมแล่นไป ทิสาวิทิสํ สู่ทิศและทิศเฉียง, สลิลธารา กระแสน้ำ โสตปฏิโสตมุขา ไหลบ่ามุ่งหน้าไปตามกระแสเบื้องบนและทวนกระแส,

 

อสุรา พวกอสูรทั้งหลาย ด้วย ครุฬา ครุฑทั้งหลาย ด้วย นาคา นาคทั้งหลาย ด้วย ยกฺขา ยักษ์ทั้งหลาย จ ด้วย ตสนฺติ ย่อมสะดุ้งกลัว, อุพฺพิชฺชนฺติ ย่อมแตกตื่น อิติ ว่า สาคโร ทะเล วิปริวตฺตติ ย่อมแปรปรวน กิํ นุ โข เพราะเหตุอะไรหนอแล, กถํ นุ โข ได้อย่างไร หนอแล ดังนี้ ภีตจิตฺตา มีจิตหวาดกลัวแล้ว เอสนฺติ ย่อมแสวงหา คมนปถํ ซึ่งหนทางเป็นที่ไป, ชลธาเร เมื่อสายธารแห่งน้ำ ขุภิิเต กำเริบแล้ว ลุฬิเต ปั่นป่วนแล้ว, มหาปถวี แผ่นดินใหญ่ สนคา อันเป็นไปกับด้วยภูเขา สสาครา อันเป็นไปกับด้วยทะเล ปกมฺปติ ย่อมสั่นสะเทือน, สิเนรุคิริ ภูเขาสิเนรุ ปริวตฺตติ ย่อมหมุนตัว กูฏเสลสิขโร เป็นเขามีหินเป็นยอดอันโค้งงอ วินมาโน ชี้ไปผิดทางอยู่ โหติ ย่อมเป็น, อหินกุลพิฬารโกฏฺฐุกสูกรมิคปกฺขิโน งู พังพอน แมว สุกร เนื้อ นก ทั้งหลาย วิมโน มีจิตแปรปรวน, ยกฺขา ยักษ์ทั้งหลาย อปฺเปสกฺขา มีศักดาน้อย รุทนฺติ ย่อมร่ำไห้, มหาปถวิยา เมื่อแผ่นดินใหญ่ กมฺปมานาย สั่นสะเทือนอยู่ ยกฺขา ยักษ์ทั้งหลาย มเหสกฺขา ผู้มีศักดาใหญ่ หสนฺติ ย่อมเริงร่า.

 

‘‘ยถา, มหาราช, มหติ มหาปริโยเค อุทฺธนคเต อุทกสมฺปุณฺเณ อากิณฺณตณฺฑุเล เหฏฺฐโต อคฺคิ ชลมาโน ปฐมํ ตาว ปริโยคํ สนฺตาเปติ, ปริโยโค สนฺตตฺโต อุทกํ สนฺตาเปติ, อุทกํ สนฺตตฺตํ ตณฺฑุลํ สนฺตาเปติ, ตณฺฑุลํ สนฺตตฺตํ อุมฺมุชฺชติ นิมุชฺชติ, พุพฺพุฬกชาตํ โหติ, เผณมาลา อุตฺตรติ;

 

 

 

 

 


เอวเมว โข, มหาราช, เวสฺสนฺตโร ราชา ยํ โลเก ทุจฺจชํ, ตํ จชิ, ตสฺส ตํ ทุจฺจชํ จชนฺตสฺส ทานสฺส สภาวนิสฺสนฺเทน เหฏฺฐา มหาวาตา ธาเรตุํ น วิสหนฺตา ปริกุปฺปิํสุ, มหาวาเตสุ ปริกุปิเตสุ อุทกํ กมฺปิ, อุทเก กมฺปิเต มหาปถวี กมฺปิ, อิติ ตทา มหาวาตา จ อุทกญฺจ มหาปถวี จาติ อิเม ตโย เอกมนา วิย อเหสุํ มหาทานนิสฺสนฺเทน วิปุลพลวีริเยน. นตฺเถทิโส, มหาราช, อญฺญสฺส ทานานุภาโว, ยถา เวสฺสนฺตรสฺส รญฺโญ มหาทานานุภาโวฯ

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

ยถา, มหาราช, มหิยา พหุวิธา มณโย วิชฺชนฺติฯ เสยฺยถีทํ, อินฺทนีโล มหานีโล โชติรโส เวฬุริโย อุมฺมาปุปฺโผ สิรีสปุปฺโผ มโนหโร สูริยกนฺโต จนฺทกนฺโต วชิโร ขชฺโชปนโก ผุสฺสราโค โลหิตงฺโค มสารคลฺโลติ, เอเต สพฺเพ อติกฺกมฺม จกฺกวตฺติมณิ อคฺคมกฺขายติ, จกฺกวตฺติมณิ, มหาราช, สมนฺตา โยชนํ โอภาเสติฯ เอวเมว โข, มหาราช, ยํ กิญฺจิ มหิยา ทานํ วิชฺชติ อปิ อสทิสทานํ ปรมํ, ตํ สพฺพํ อติกฺกมฺม เวสฺสนฺตรสฺส รญฺโญ มหาทานํ อคฺคมกฺขายติ, เวสฺสนฺตรสฺส, มหาราช, รญฺโญ มหาทาเน ทียมาเน สตฺตกฺขตฺตุํ มหาปถวี กมฺปิตา’’ติฯ

 

มหาราช มหาบพิตร มหติ มหาปริโยเค เมื่อกระทะ ใบใหญ่ๆ อากิณฺณตณฺฑุเล มีข้าวสารเกลื่อนกล่นแล้ว อุทกสมฺปนฺเน มีน้ำอันเต็มแล้ว อุทฺธนคเต ตั้งอยู่บนเตาแล้ว อคฺคิ ไฟ ชลมาโน อันลุกโพลงอยู่ เหฏฺฐโต ภายใต้ ปริโยคํ ยังเตา สนฺตาเปติ ย่อมให้ร้อน ปฐมํ ตาว ก่อน, ปริโยโค เตา สนฺตตฺโต อันร้อนแล้ว อุทกํ ยังน้ำ สนฺตาเปติ ย่อมให้ร้อน, อุทกํ น้ำ สนฺตตฺตํ อันร้อนแล้ว ตณฺฑุลํ ยังข้าวสาร สนฺตาเปติ ย่อมให้ร้อน, ตณฺฑุลํ ข้าวสาร สนฺตตฺตํ อันร้อนแล้ว อุมฺมุชฺชติ ย่อมผุดขึ้น นิมุชฺชติ ย่อมจมลง, พุพฺพุฬกชาตํ (ตณฺฑุลํ) เกิดเป็นฟองแล้ว โหติ ย่อมเป็น, เผณมาลา แผ่นแห่งฟอง อุตฺตรติ ย่อมสูงขึ้น ยถา ฉันใด,

 

มหาราช มหาบพิตร เวสฺสนฺตโร ราชา พระราชาทรงพระนามว่า เวสสันดร, ยํ วตฺฺถุ วัตถุใด ทุจฺจลํ เป็นธรรมชาติสละได้ยาก โหติ มีอยู่ โลเก ในโลก, จชิ ทรงสละแล้ว ตํ วตฺถุํ ซึ่งวัตถุนั้น, ตสฺส เมื่อพระองค์ จชนฺตสฺส ทรงสละอยู่ ตํ ทุจฺจชํ ซึ่งวัตถุอันสละยากนั้น มหาวาตา ลมใหญ่ เหฏฺฐา ในเบื้องล่าง น วิสหนฺตา ไม่อาจอยู่ ธาเรตุํ เพื่ออันทรงไว้  ปริกุปฺปิํสุ หวั่นไหวแล้ว สภาวนิสฺสนฺเทน เพราะผลอันหลั่งไหล ทานสฺส แห่งทาน, มหาวาเตสุ เมื่อลมใหญ่ ปริกุปิเตสุ หวั่นไหวแล้ว อุทกํ น้ำ กมฺปิ หวั่นไหวแล้ว, อุทเก เมื่อน้ำ กมฺปิเต หวั่นไหวแล้ว มหาปถวี แผ่นดินใหญ่ กมฺปิ หวั่นไหวแล้ว, ตทา ในกาลนั้น อิเม ตโย ธมฺมชาตา ธรรมชาติทั้งหลาย ๓ อิติ คือ มหาวาตา จ ลมใหญ่ ด้วย อุทกญฺจ น้ำ ด้วย มหาปถวี จ แผ่นดินใหญ่ ด้วย เอกมนา วิย เป็นราวกับว่ามีใจเดียวกัน อเหสุํ ได้เป็นแล้ว วิปุลพลวีริเยน ด้วยกำลังแห่งความเพียรอันกว้างไกล มหาทานนิสฺสนฺเทน อันเป็นผลหลั่งไหลแห่งทานใหญ่ เอวํ เอว โข ฉันนั้นนั่นเทียว. มหาราช ขอถวายพระพร มหาบพิตร ทานานุภาโว อานุภาพแห่งทาน เอทิโส อันเห็นเสมอด้วยทานนี้ อญฺญสฺส ของบุคคลอื่น ยถา ราวกับ มหาทานานุภาโว อานุภาพของทานใหญ่ เวสฺสนฺตรสฺส รญฺโญ ของพระราชาทรงพระนามว่า เวสสันดร นตฺถิ ย่อมไม่มี.

 

มหาราช มหาบพิตร มณโย แก้วมณีทั้งหลาย มหิยา บนแผ่นดิน พหุวิธา หลายชนิด อตฺถิ มีอยู่ เสยฺยถีทํ[12] คือ อินฺทนีโล แก้วอินทนิล มหานีโล แก้วมหานิล โชติรโส แก้วโชติรส เวฬุริโย แก้วไพฑูรย์ อุมฺมาปุปฺโผ แก้วอุมมาบุปผา (สีเหมือนดอกผักตบ) สีริสปุปฺโผ แก้วสิรีสบุปผา (แก้วสีเหมือนดอกไม้ซึก) มโนหโร แก้วมโนหร (แก้วมโนราห์) สูริยนฺโต แก้วสุริยกานต์ จนฺทกนฺโต แก้วจันทกานต์ วชิโร แก้ววชิระ (แก้ววิเชียร) ขชฺโชปนโก แก้วขัชชปนกะ ผุสฺสราโค แก้วผุสสราคะ (แก้วบุษราคัม) โลหิตงฺโค แก้วโลหิตรังคะ (แก้วทับทิม) มสารคลฺโล แก้วสารคัลละ (แก้วลาย) อิติ แล, จกฺกวตฺติมณิ แก้วจักรพรรดิ อกฺขายติ อันบัณฑิตย่อมกล่าว อคฺโค ว่าเป็นเลิศ อติกฺกมฺม ก้าวล่วง เต สพฺเพ ซึ่งแก้วมณิทั้งหลายทั้งปวง เหล่านั้น, มหาราช มหาบพิตร จกฺกวตฺติมณิ แก้วจักรพรรดิ โอภาเสติ ย่อมส่องสว่าง โยชนํ ตลอดโยชน์ สมนฺตา โดยรอบ ยถา ฉันใด, มหาราช มหาบพิตร ทานํ ทาน ยํ กิญฺจิ อย่างใดอย่างหนึ่ง อสทิสทานํ อปิ แม้เป็นอสทิสทาน[13] ปรมํ ที่เป็นทานยิ่ง มหิยา บนแผ่นดิน อตฺถิ แม้มีอยู่, มหาราช มหาบพิตร มหาทานํ ทานยิ่งใหญ่ เวสฺสนฺตรสฺส รญฺโญ ของพระราชาทรงพระนามว่า เวสสันดร  อคฺคํ อกฺขายติ อันบัณฑิตย่อมกล่าว ว่าเป็นเลิศ อติกฺกมฺม ก้าวล่วง ตํ ทานํ ทานั้น สพฺพํ ทั้งปวง, มหาราช มหาบพิตร ทาเน เมื่อทาน อิตฺถนฺนามสฺส อันบุคคลชื่อนี้ ทียมาเน ถวายอยู่ มหาปถวี แผ่นดินใหญ่ กมฺปิตา หวั่นไหวแล้ว สตฺตกฺขตฺตํ ๗ ครั้ง เอวํ เอว โข ฉันนั้นนั่นเทียว ดังนี้

 

‘‘อจฺฉริยํ, ภนฺเต นาคเสน, พุทฺธานํ, อพฺภุตํ, ภนฺเต นาคเสน, พุทฺธานํ, ยํ ตถาคโต โพธิสตฺโต สมาโน อสโม โลเกน เอวํขนฺติ เอวํจิตฺโต เอวํอธิมุตฺติ เอวํอธิปฺปาโย,

 

 

 

 

 

 

โพธิสตฺตานํ, ภนฺเต นาคเสน, ปรกฺกโม ทกฺขาปิโต, ปารมี จ ชินานํ ภิยฺโย โอภาสิตา, จริยํ จรโตปิ ตาว ตถาคตสฺส สเทวเก โลเก เสฏฺฐภาโว อนุทสฺสิโตฯ

 

 

 

 

 

 

 สาธุ, ภนฺเต นาคเสน, โถมิตํ ชินสาสนํ, โชติตา ชินปารมี, ฉินฺโน ติตฺถิยานํ วาทคณฺฐิ, ภินฺโน ปราปวาทกุมฺโภ, ปญฺโห คมฺภีโร อุตฺตานีกโต, คหนํ อคหนํ กตํ, สมฺมา ลทฺธํ ชินปุตฺตานํ นิพฺพาหนํ, เอวเมตํ คณิวรปวร ตถา สมฺปฏิจฺฉามา’’ติฯ

 

มิลินฺโท ราชา พระเจ้ามิลินท์ อาห ตรัสแล้ว อิติ ว่า ภนฺเต นาคเสน ข้าแต่พระนาคเสนผู้เจริญ ตถาคโต พระตถาคต โพธิสตฺโต ทรงเป็นพระโพธิสัตว์ อสโม ผู้ - โลเกน อันชาวโลก เสมอมิได้ เอวํขนฺติ มีพระมติอย่างนี้ เอวํจิตฺโต มีพระทัยคิดอย่างนี้ เอวํอธิมุตฺติ มีพระอัธยาศัยน้อมไปอย่างนี้ เอวํอธิปฺปาโย ทรงมีพระประสงค์อย่างนี้ สมาโน มีอยู่ ยํ = เยน ด้วยพระคุณใด, ตํ คุณํ พระคุณนั้น อจฺฉริยํ เป็นความน่าอัศจรรย์ เป็นสิ่งอันไม่เคยมีแล้ว พุทฺธานํ แห่งพระพุทธเจ้าทั้งหลาย, อพฺภุตํ เป็นสิ่งไม่เคยมีมาก่อน(น่าพิศวง) พุทฺธานํ แห่งพระพุทธเจ้าทั้งหลาย โหติ ย่อมเป็น,

 

ภนฺเต นาคเสน ข้าแต่พระนาคเสนผู้เจริญ ปรกฺกโม ความบากบั่น[14] ด้วย โพธิสตฺตานํ ของพระโพธิสัตว์ทั้งหลาย เต อันท่าน ทกฺขาปิโต ให้เห็นแล้ว ปารมี จ บารมี ด้วย ชินานํ แห่งพระชินพุทธเจ้า ตยา อันท่าน โอภาสิโต ให้สว่างไสวแล้ว ภิยฺโย โดยยิ่ง เสฏฺฐภาโว ความที่ ตถาคตสฺส พระตถาคต จรโตปิ แม้เมื่อทรงประพฤติ จริยํ ซึ่งจริยา (ข้อประพฤติเพื่อความเป็นพระสัพพัญญู) เป็นผู้ประเสริฐสุด โลเก ในมนุษยโลก สเทวเก อันเป็นไปกับด้วยเทวโลก ตาว ก่อน ตยา อันท่าน อนุทสฺสิโต ให้เห็นตามแล้ว.

 

ภนฺเต นาคเสน ข้าแต่พระนาคเสนผู้เจริญ สาธุ ดีจริง, ชินสาสนํ พระศาสนาของพระชินพุทธเจ้า ตยา อันท่าน โถมิตํ ยกย่องแล้ว, ชินปารมี พระบารมีของพระชินพุทธเจ้า โชติตา ตยา อันท่าน ให้สว่างไสวแล้ว, วาทคณฺฐิ เงื่อนปมคือวาทะ ติตฺถิยานํ ของพวกเดียรถีย์ ฉินฺโน อันท่าน ตัดแล้ว, ปราปวาทกุมฺโภ[15] หม้อแห่งปรัปวาทะ (คำอวดอ้างของชนฝ่ายอื่น) ภินฺโน อันท่าน ต่อยให้แตกแล้ว, ปญฺโห ปัญหา คมฺภีโร อันลึก อุตฺตานีกโต อันท่านทำให้ตื้นแล้ว, คหนํ ข้อยุ่งเหยิง ตยา อันท่าน กตํ ทำแล้ว อคฺคหนํ ให้ไม่ยุ่งเหยิงแล้ว,  นิพฺพาหนํ ช่องทางอันนำไปกล่าวคืออุบายในการเปลื้องวาทะของฝ่ายตรงข้าม คือ พวกมิจฉาทิฏฐิ ชินปุตฺตานํ อันภิกษุทั้งหลาย ผู้เป็นพระโอรสของพระชินพุทธเจ้า ลทฺธํ ได้แล้ว สมฺมา โดยชอบ, คณิวรปวร ข้าแต่พระนาคเสน ผู้ยอดเยี่ยมและประเสริฐแห่งศิษย์ผู้เป็นคณะ (วจนํ คำ ตยา อันท่าน วุตฺตํ กล่าวแล้ว ยถา โดยประการใด), มยํ ข้าพเจ้า  สมฺปฏิจฺฉาม ขอยอมรับ เอตํ วจนํ ซึ่งคำนั้น ตถา โดยประการนั้น เอวํ อย่างนี้ ดังนี้

 

ปถวิจลนปญฺโห จตุตฺโถฯ

 

ปถวิจลนปญฺโห ปถวิจลนปัญหา

จตุตฺโถ ที่ ๔ นิฏฺฐิโต จบแล้ว



[1] พระผู้มีพระภาคตรัสถึงเหตุให้แผ่นดินไหวรวม ๘ ประการไว้ในมหาปรินิพพานสูตร มหาวรรค ทีฆนิกาย มีเนื้อหาโดยสรุปดังต่อไปนี้ ๑. มหาปฐพีนี้ตั้งอยู่บนน้ำ น้ำตั้งอยู่บนลม ลมตั้งอยู่บนอากาศ   สมัยที่ลมใหญ่พัด เมื่อลมใหญ่พัดอยู่ย่อมยังน้ำให้ไหว.  ครั้นน้ำไหวแล้ว จึงทำแผ่นดินให้ไหว.๒. สมณะหรือพราหมณ์ผู้มีฤทธิ์ ถึงความเป็นผู้ชำนาญในทางจิต หรือว่าเทวดาผู้มีฤทธิ์มาก มีอานุภาพมาก เขาเจริญปฐวีสัญญาเพียงเล็กน้อย เจริญอาโปสัญญาอย่างแรงกล้า เขาย่อมยังแผ่นดินนี้ให้สะเทือนสะท้าน หวั่นไหวได้. ๓. เมื่อพระโพธิสัตว์จุติจากชั้นดุสิต มีสติสัมปชัญญะ  ลงสู่พระครรภ์พระมารดา. ๔. เมื่อพระโพธิสัตว์มีสติสัมปชัญญะ ประสูติจากพระครรภ์พระมารดา. ๕. เมื่อพระตถาคตตรัสรู้พระอนุตรสัมมาสัมโพธิญาณ. ๖. เมื่อพระตถาคตให้อนุตรธรรมจักรเป็นไป ในคราวแสดงปฐมเทศนา ๗. เมื่อพระตถาคตมีพระสติสัมปชัญญะ ทรงปลงอายุสังขาร. ๘. เมื่อพระตถาคตปรินิพพานด้วยอนุปาทิเสสนิพพานธาตุ.

 

[2] มหาทาน แปลว่า ทานที่ยิ่งใหญ่ หรือทานที่น่าบูชา อรรถกถาอังคุตตรนิกายกล่าวไว้ว่า ได้แก่ การบริจาค ๕ อย่าง คือ (๑) บริจาคอวัยวะ (๒) บริจาคทรัพย์ (๓) บริจาคบุตร (๔) บริจาคภรรยา (๕) บริจาคชีวิต ส่วนฎีกาว่า ได้แก่ การบริจาค ๕ อย่าง คือ (๑) บริจาคอวัยวะ (๒) บริจาคนัยน์ตา (๓) บริจาคทรัพย์ (๔) บริจาคราชสมบัติ (๕) บริจาคบุตรและภรรยา พระราชาเวสสันดรทรงให้มหาทาน ๕ อย่างเหล่านี้ ครบทุกอย่าง.

[3] ประเด็นปัญหาของพระราชามีอยู่ว่า ถ้าหากคำที่ตรัสไว้ว่า เหตุที่ทำให้แผ่นดินไหวมี ๘ อย่าง เป็นความจริงไซร้ คำที่ว่า เมื่อพระราชาเวสสันดรทรงให้มหาทาน แผ่นดินได้ไหวถึง ๗ ครั้ง ดังนี้ ก็ไม่เป็นความจริง เพราะไม่เนื่องอยู่ในเหตุ ๘ อย่างเหล่านั้น หรือว่า ถ้าหากคำที่ว่า เมื่อพระราชาเวสสันดรถึง ๗ ครั้ง ดังนี้ เป็นความจริงไซร้ คำที่ตรัสไว้ว่า เหตุที่ทำให้แผ่นดินไหว มี ๘ อย่าง ดังนี้ ก็ไม่เป็นความจริง เพราะความจริงมีถึง ๙ อย่าง.

[4] ฝนที่ตกพร้อมกันในทวีปทั้ง ๔ อรรถกถามิลินทฯ อ้างถึงพระบาฬีวินัยปิฎก มหาวรรค จีวรขันธกะ (วิ.มหา.๕/๓๕๙) แต่ในอภิธาน.คาถา ๘๐ กล่าวว่าเป็นชื่อหนึ่งของฤดูฝนเหมือนกัน, พจน.ฉบับภูมิพโล อธิบายว่า ฝนที่ตกใน ๒ เดือนแรกของฤดูฝน.

[5] ชนผู้ไปภพดาวดึงส์ด้วยสรีระร่างกายที่เป็นของมนุษย์ คือ ชนผู้เป็นมนุษย์ยังไม่เคลื่อนจากความเป็นมนุษย์ เข้าถึงภพใหม่เลย ก็ไปสู่ภพดาวดึงส์ทั้ง ๆ ที่ยังมีร่างกายเป็นมนุษย์อยู่นั่นแหละ.

[6]ฉบับไทย ปาฐะเป็น "สุจิรปิ  กต  สุยฺยติ  สุกฏ น  ทุกฺกฏ กมฺมนฺติ". สุกฏํ กรรมดี (เตหิ ชเนหิ) อันชนทั้งหลายเหล่านั้น กตํ กระทำแล้ว, กมฺมํ กรรม ทุกฺกฏํ อันชั่ว น (เตหิ ชเนหิ) กตํ อันชนทั้งหลายเหล่านั้น ไม่ทำแล้ว สุจิรํปิ แม้นานดี (ติดต่อ) กัน มยา อันเรา สุยฺยติ ฟังแล้ว ดังนี้. อันที่จริงปาฐะของไทยได้ความชัดเจนดีกว่า แต่ในที่นี้แปลตามปาฐะของฉัฏฐสังคายนา.

[7] ฉบับมหามกุฏแปลว่า นิกายเปนที่มา และมรรคผล ปริยัตติ และการฟง และกําลังแหงความศึกษา และความปรารถนาจะฟง และปริปุจฉา และความเขาไปนั่งใกลอาจารย์

[8] ชล ศัพท์ ในที่นี้หมายถึง เมฆ อันหลั่งซึ่งน้ำฝนต่อไป ดังนั้น ในที่นี้แปลว่า เมฆ. ซึ่งก็หมายถึงหนาแน่นด้วยเมฆและกระแสลมแรงด้านบน ส่วนคำว่า อติวาเตน ผุฏิตตฺตา หมายถึง เมฆฝนที่ลอยไปด้วยกระแสลมบนฟ้านั้น ครั้นกระทบถูกลมด้านล่าง จึงคำรามเป็นเสียงฟ้าร้องดังครืนครัน ดังในอรรถกถามิลินทปัญหาท่านอธิบายว่า คคนนฺติ อากาโส. อนิลชลเวคสญฺฉาทิตนฺติ อุปริเมน วาตเวเคน จ เมฆเวเคน จ สญฺฉาทิโต. อุสฺสนฺนชลภารภริตนฺติ พาหุลฺเลน เมฆภาเรน ปูริโต. อติวาเตนาติ เหฏฺฐิเม อติวาเตน ผุฏิตตฺตา นทติ รวติ คฬคฬายติ. (มิลินฺ.อฏฺ.)

[9] นัยแห่งอรรถกถาจริยาปิฎก (จริยา.อฏฺ. ๑๑๙ เวสสันตรจริยา)

[10] ฉบับแปลในมหามกุฏฯ มอง วิปฺผาเรน เป็น วิหาเรน แล้วแปลว่า ดวยนิสสันทผลแหงทาน และความเพียรมีกําลัง และวิหารธรรมเครื่องอยูไพบูลย์. ส่วนฉบับไทย ปาฐะเป็น ทานพลวิริยวิปุลวิตฺถาเรน  เพราะความแผ่ไปแห่งกำลังแห่งทานและความกว้างใหญ่แห่งความเพียร.

[11] ฉบับไทย ปาฐะเป็น “พลาหกา คคณ  สนฺธาวนฺติ รชสยุตฺตา วาตา  ทารุณา  โหนฺติ  คคณกา นิปีฬิตา  สมฺปีฬิตา วาตา วายนฺติ  สหสา    ปวา  ธุมา  วายนฺติ  มหติมหาภีโม สทฺโท นิจฺฉรติ. แปลว่า ลม เจือด้วยฝุ่นเป็นของหยาบ, ท้องฟัา อันลมนั้นเบียดเสียดแล้ว, ลมย่อมฟุ้งไป, ลมเป็นฝุ่นธุลีย่อมฟุ้งไปอย่างรวดเร็ว, เสียงดังอันน่ากลัวย่อมเปล่งออก.

[12] อนึ่ง แกวทั้งหลายมากอยางซึ่งมีในแผนดิน, แกวมากอยางนี้อยางไร แกวมากอยางนี้ คือ แกวอินทนิล แก้วมหานิล แกวโชติรส แกวไพฑูรย แกวดอกผักตบ แกวสีดอกไมซึก แกวมโนหร แกวสุริยกานต แกวจันทรกานต แกววิเชียร แกวกโชปกกมกะ แก

วปุสราค แกวทับทิม แกวลาย, แกวจักรวัตติ อันโลกยอมกลาววาเปนยอด กาวลวงเสียซึ่งแกวทั้งปวงเหลาน

[13] อสทิสทาน คือ ทานที่หาทานของผู้อื่นเสมอเหมือนมิได้ ได้แก่ ทานที่พระเจ้าโกศลทรงกระทำถวาพระตถาคต ซึ่งมากมายและมีค่ายิ่งกว่าทานที่พวกชาวนครพร้อมใจกันสละทรัพย์สมทบทำถวาย ตามที่พระนางมัลลิกาเทวีทรงทูลแนะนำ เพื่อเอาชนะทานของพวกชาวนคร เป็นทานยอดเยี่ยมที่ผู้เป็นพระราชาเท่านั้นทรงจัดแจงได้ เพราะมีการประดับประดาด้วยเครื่องราชูปโภคทั้งหลาย อันชาวนครไม่อาจจัดหาได้.

[14] ความพยายามกาวไปสูคุณยิ่ง (มิลิน.มมก), ปารมิปูรเณ ปรกฺกโม วายาโม ทกฺขาปิโต เปกฺขาปิโต ความเพียรอันเป็นก้าวไปข้าวหน้าในการทำพระบารมีให้เต็ม อันท่านให้เห็นแล้ว ให้เห็นอย่างชัดเจนแล้ว (มิลินฺท.ฏี.).

[15] ฉบับไทย ปาฐะเป็น คุมฺโพ ตยา วิทฺธํสิโต คุมฺโพ พุ่มทึบ ตยา อันท่าน วิทฺธํสิโต ให้พินาศแล้ว

ไม่มีความคิดเห็น:

แสดงความคิดเห็น