วันศุกร์ที่ 18 ตุลาคม พ.ศ. 2567

๔๔ - ๔ เมณฑกกัณฑ์ โพธิสัตตธัมมตาปัญหาที่ ๔

 

๔. โพธิสตฺตธมฺมตาปญฺโห

ปัญหาเกี่ยวกับความเป็นธรรมดาแห่งพระโพธิสัตว์

. ‘‘ภนฺเต นาคเสน, ภาสิตมฺเปตํ ภควตา ธมฺมตาธมฺมปริยาเยปุพฺเพว โพธิสตฺตานํ มาตาปิตโร นิยตา โหนฺติ, โพธิ นิยตา โหติ, อคฺคสาวกา นิยตา โหนฺติ, ปุตฺโต นิยโต โหติ, อุปฏฺฐาโก นิยโต โหตีติฯ ปุน จ ตุมฺเห ภณถ ตุสิเต กาเย ฐิโต โพธิสตฺโต อฏฺฐ มหาวิโลกนานิ วิโลเกติ, กาลํ วิโลเกติ, ทีปํ วิโลเกติ, เทสํ วิโลเกติ, กุลํ วิโลเกติ, ชเนตฺติํ วิโลเกติ, อายุํ วิโลเกติ, มาสํ วิโลเกติ, เนกฺขมฺมํ วิโลเกตีติฯ ภนฺเต นาคเสน, อปริปกฺเก ญาเณ พุชฺฌนํ นตฺถิ, ปริปกฺเก ญาเณ น สกฺกา นิเมสนฺตรมฺปิ อาคเมตุํ, อนติกฺกมนียํ ปริปกฺกมานสํฯ กสฺมา โพธิสตฺโต กาลํ วิโลเกติกมฺหิ กาเล อุปฺปชฺชามีติฯ อปริปกฺเก ญาเณ พุชฺฌนํ นตฺถิ, ปริปกฺเก ญาเณ น สกฺกา นิเมสนฺตรมฺปิ อาคเมตุํ, กสฺมา โพธิสตฺโต กุลํ วิโลเกติ กมฺหิ กุเล อุปฺปชฺชามีติฯ ยทิ, ภนฺเต นาคเสน, ปุพฺเพว โพธิสตฺตสฺส มาตาปิตโร นิยตา, เตน หิกุลํ วิโลเกตีติ ยํ วจนํ, ตํ มิจฺฉาฯ ยทิ กุลํ วิโลเกติ, เตน หิ ปุพฺเพว โพธิสตฺตสฺส มาตาปิตโร นิยตาติ ตมฺปิ วจนํ มิจฺฉาฯ อยมฺปิ อุภโต โกฏิโก ปญฺโห ตวานุปฺปตฺโต, โส ตยา นิพฺพาหิตพฺโพ’’ติฯ

มิลินฺโท ราชา พระเจ้ามิลินท์ อาห ตรัสถามแล้ว อิติ ว่า ภนฺเต นาคเสน ข้าแต่พระนาคเสนผู้เจริญ เอตํ วจนํ พระดำรัสนี้ ภควตา อันพระผู้มีพระภาค ภาสิตํ ทรงภาษิตไว้ ธมฺมตาธมฺมปริยาเย ในธรรมเทสนาว่าด้วยเรื่องธรรมดา อิติ ว่า มาตาปิตโร พระมารดาและพระบิดา โพธิสตฺตานํ ของพระโพธิสัตว์ทั้งหลาย เป็นผู้ (โพธิสตฺเตหิ อันพระโพธิสัตว์ทั้งหลาย) นิยตา กำหนดแล้ว ปุพฺเพว ก่อนนั่้นเทียว โหติ ย่อมเป็น[1], โพธิ การตรัสรู้ (โพธิสตฺเตหิ อันพระโพธิสัตว์ทั้งหลาย) นิยตา กำหนดแล้ว โหติ ย่อมเป็น, อคฺคสาวกา พระอัครสาวก (โพธิสตฺเตหิ อันพระโพธิสัตว์ทั้งหลาย) นิยตา กำหนดแล้ว โหติ ย่อมเป็น, ปุตฺโต พระโอรส (โพธิสตฺเตหิ อันพระโพธิสัตว์ทั้งหลาย) นิยตา กำหนดแล้ว โหติ ย่อมเป็น, อุปฏฺฐาโก ภิกษุอุปัฏฐาก (โพธิสตฺเตหิ อันพระโพธิสัตว์ทั้งหลาย) นิยตา กำหนดแล้ว โหติ ย่อมเป็น ดังนี้ฯ ก็ ตุมฺเห ท่าน ภณถ ยังกล่าว ปุน อีก อิติ ว่า โพธิสตฺโต พระโพธิสัตว์ ฐิโต ทรงดำรงอยู่ กาเย ในหมู่ ตุสิเต เทวดาชั้นดุสิต วิโลเกสิ ทรงตรวจดูแล้ว มหาวิโลกนานิ ซึ่งการตรวจดูอย่างใหญ่ อฏฺฐ แปด คือ วิโลเกติ ทรงตรวจดู กาลํ ซึ่งกาล, วิโลเกติ ทรงตรวจดู ทีปํ ซึ่งทวีป, วิโลเกติ ทรงตรวจดู เทสํ ซึ่งประเทศ, วิโลเกติ ทรงตรวจดู กุลํ ซึ่งตระกูล, วิโลเกติ ทรงตรวจดู ชเนตฺติํ ซึ่งพระมารดา, วิโลเกติ ทรงตรวจดู อายุํ ซึ่งพระชนมายุ, วิโลเกติ ทรงตรวจดู มาสํ ซึ่งเดือน, วิโลเกติ ทรงตรวจดู เนกฺขมฺมํ ซึ่งการเสด็จออกบรรพชา ดังนี้. ภนฺเต นาคเสน ข้าแต่พระนาคเสนผู้เจริญ, ญาเณ เมื่อญาณ อปริปกฺกเก ยังไม่แก่กล้า พุชฺฌนํ การรู้ นตฺถิ ย่อมไม่มี[2], ญาเณ เมื่อญาณ ปริปกฺเก แก่กล้าแล้ว (ปริปกฺกญาเณน พุทฺเธน) อันพระพุทธเจ้าผู้ทรงมีพระญาณแก่กล้าแล้ว น สกฺกา ไม่อาจ (วิโลเกตุํ เพื่อตรวจดู อิเม อฏฺฐ วิโลกเน ซึ่งการตรวจดู ๘ ประการเหล่านี้ อุปฺปนฺนสฺส พุทฺธสฺส อุปฺปนฺนฏฺฐานํ วิโลเกตพฺพสฺส นตฺถิตาย = เพราะไม่มีสิ่งที่พึงตรวจดูอันพระพุทธเจ้าผู้ทรงอุบัติแล้ว ต้องตรวจดู ซึ่งฐานะแห่งการเกิดขึ้น)[3], นิเมสนฺตรมฺปิ[4] อนฺตรมฺปิ อาคเมตุํ =ปริปกฺกญาเณน พุทฺเธน อิเมสํ อฏฺฐนฺนํ วิโลกนานํ อนฺตเรปิ ปวตฺตํ โพธิสตฺตภาวํ ปจฺจาคเมตุํ น สกฺกา  ปริปกฺกญาเณน พุทฺเธน อันพระพุทธเจ้า ผู้ทรงมีพระญาณแก่กล้าแล้ว น (สกฺกา) ไม่อาจ (โพธิสตฺตภาวํ) แม้เพื่อยังความเป็นพระโพธิสัตว์ ปวตฺตํ ซึ่งเป็นไป อนฺตรมฺปิ ในระหว่าง วิโลกนานํ แห่งการตรวจดู  อิเมสํ  (อฏฺฐนฺนํ) แปด เหล่านี้ อาคเมตุํ = ปจฺจาคเมตุํ ให้ถอยกลับ. (คือ เมื่อบรรลุเป็นพระพุทธเจ้าแล้ว ไม่สามารถหวนกลับมาสู่ความเป็นพระโพธิสัตว์ ซึ่งอยู่ระหว่างการตรวจดู ๘ เหล่านี้อีก), ปริปกฺกมานสํ พระญาณมีในใจอันแก่กล้าแล้ว เกนจิ อันใครๆ อนติกฺกมนียํ ไม่พึงก้าวล่วง (อิเมหิ อฏฺฐหิ วิโลกเนหิ) ด้วยการตรวจดู ๘ เหล่านี้ (คือ  เพราะวิโลกนะ ๘ เหล่านี้  เป็นวิสัยแห่งพุทธจักษุเท่านั้น ใครๆ จึงไม่อาจจะก้าวเกินได้ ดังนั้น  ไม่อาจชักนำด้วยมหาวิโลกนะ ๘ อย่างนั้นได้), กสฺมา เพราะเหตุไรเล่า โพธิสตฺโต พระโพธิสัตว์ วิโลเกติ จึงตรวจดู กาลํ ซึ่งกาล อิติ ว่า อหํ เรา อุปฺปชฺชามิ จะเกิด กมฺหิ กาเล ในกาลไหนเล่า ดังนี้ (คือ ถ้ากาลถูกกำหนดไว้ล่วงหน้าแล้ว จะต้องตรวจดูทำไม),  ภนฺเต นาคเสน ข้าแต่พระนาคเสนผู้เจริญ ญาเณ เมื่อญาณ อปริปกฺกเก ยังไม่แก่กล้า พุชฺฌนํ การรู้ นตฺถิ ย่อมไม่มี, ญาเณ เมื่อพระญาณ ปริปกฺเก แก่กล้าแล้ว ปริปกฺกญาเณน พุทฺเธน อันพระพุทธเจ้าผู้ทรงมีพระญาณแก่กล้าแล้ว น สกฺกา ไม่อาจ (วิโลเกตุํ เพื่อตรวจดู อิเม อฏฺฐ วิโลกเน ซึ่งการตรวจดู ๘ ประการเหล่านี้),  ปริปกฺกญาเณน พุทฺเธน อันพระพุทธเจ้า ผู้ทรงมีพระญาณแก่กล้าแล้ว น (สกฺกา) ไม่อาจ (โพธิสตฺตภาวํ) แม้เพื่อยังความเป็นพระโพธิสัตว์ ปวตฺตํ ซึ่งเป็นไป อนฺตรมฺปิ ในระหว่าง วิโลกนานํ แห่งการตรวจดู  อิเมสํ  (อฏฺฐนฺนํ) แปด เหล่านี้ อาคเมตุํ ให้ถอยกลับ, กสฺมา เพราะเหตุไรเล่า โพธิสตฺโต พระโพธิสัตว์ วิโลเกติ จึงตรวจดู กุลํ ซึ่งตระกูล อิติ ว่า อหํ เรา อุปฺปชฺชามิ จะเกิด กมฺหิ กุเล ในตระกูลไหนเล่า ดังนี้. ภนฺเต นาคเสน ข้าแต่พระนาคเสนผู้เจริญ ยทิ ถ้า มาตาปิตโร พระมารดาและพระบิดา โพธิสตฺตานํ ของพระโพธิสัตว์ทั้งหลาย เป็นผู้ (ธมฺมตาย อันธรรมดา) นิยตา กำหนดแล้ว ปุพฺเพว  ก่อนนั่นเทียว โหติ ย่อมเป็น, เตน หิ ถ้าอย่างนั้น  ยํ วจนํ คำใด ภควตา อันพระผู้มีพระภาค วุตฺตํ ตรัสไว้ อิติ ว่า โพธิสตฺโต พระโพธิสัตว์ วิโลเกติ จึงทรงตรวจดู กุลํ ซึ่งตระกูล ดังนี้, ตํ วจนํ คำนั้น มิจฺฉา ผิด, ยทิ ถ้า โพธิสตฺโต พระโพธิสัตว์ วิโลเกติ ย่อมทรงตรวจดู กุลํ ซึ่งตระกูล, เตน หิ ถ้าเช่นนั้น ตมฺปิ วจนํ คำนั้น อิติ ว่า มาตาปิตโร พระมารดาและพระบิดา โพธิสตฺตานํ ของพระโพธิสัตว์ทั้งหลาย เป็นผู้ (ธมฺมตาย อันธรรมดา) นิยตา กำหนดแล้ว ปุพฺเพว ก่อนนั่นเทียว โหติ ย่อมเป็น ดังนี้ ก็ผิด[5], อยมฺปิ ปญฺโห ปัญหาแม้นี้ โกฏิโก มีเงื่อนงำ อุภโต โดยส่วนสอง อนุปฺปตฺโต ตกถึงแล้ว ตว แก่ท่าน (คือ ถ้าหากว่าพระโพธิสัตว์ในปางก่อน ได้ตรวจดูผู้เป็นมารดาบิดาไว้ จริงแล้วไซร้ ก็ไม่น่าจะต้องมีการตรวจดูตระกูลอีก เพราะเมื่อกำหนดผู้เป็นมารดาบิดาไว้แน่นอนแล้ว ก็เป็นอันต้องยอมรับตระกูลของมารดาบิดานั้นด้วย), โส ปญฺโห ปัญหานั้น ตยา ท่าน นิพฺพาหิตพฺโพ พึงคลี่คลาย ดังนี้

 

‘‘นิยตา, มหาราช, ปุพฺเพว โพธิสตฺตสฺส มาตาปิตโร, กุลญฺจ โพธิสตฺโต วิโลเกติฯ กินฺติ ปน กุลํ วิโลเกติ เย เม มาตาปิตโร, เต ขตฺติยา อุทาหุ พฺราหฺมณาติฯ เอวํ กุลํ วิโลเกติฯ

นาคเสโน เถโร พระนาคเสนเถระ อาห ทูลตอบแล้ว อิติ ว่า มหาราช มหาบพิตร มาตาปิตโร พระบิดามารดา โพธิสตฺตสฺส ของพระโพธิสัตว์ นิยตา อันธรรมดา กำหนดแล้ว ปุพฺเพว ในกาลก่อนแต่การเคลื่อนจากดุสิตเทวโลกนั่นเทียว และ โพธิสตฺโต พระโพธิสัตว์ วิโลเกติ ย่อมทรงตรวจดู กุลญฺจ ซึ่งตระกูลด้วยฯ ปน ก็ โส พระโพธิสัตว์นั้น วิโลเกติ ทรงตรวจดู กุลํ ซึ่งตระกูล กินฺติ อย่างไรเล่า, คือ วิโลเกติ ย่อมทรงตรวจดู กุลํ ซึ่งตระกูล เอวํ อย่างนี้ อิติ ว่า เย มาตาปิตโร บิดาและมารดา เม ของเรา เย เหล่าใด, เต มาตาปิตโร มารดาและบิดาเหล่านั้น ขตฺติยา เป็นกษัตริย์ วา หรือ อุทาหุ หรือว่า พฺราหฺมณา เป็นพราหมณ์ โหนฺติ ย่อมเป็น ดังนี้

 

‘‘อฏฺฐนฺนํ, มหาราช, ปุพฺเพว อนาคตํ โอโลเกตพฺพํ โหติฯ กตเมสํ อฏฺฐนฺนํ? วาณิชสฺส, มหาราช, ปุพฺเพว วิกฺกยภณฺฑํ โอโลเกตพฺพํ โหติ, หตฺถินาคสฺส ปุพฺเพว โสณฺฑาย อนาคโต มคฺโค โอโลเกตพฺโพ โหติ, สากฏิกสฺส ปุพฺเพว อนาคตํ ติตฺถํ โอโลเกตพฺพํ โหติ, นิยามกสฺส ปุพฺเพว อนาคตํ ตีรํ โอโลเกตฺวา นาวา เปเสตพฺพา โหติ, ภิสกฺกสฺส ปุพฺเพว อายุํ โอโลเกตฺวา อาตุโร อุปสงฺกมิตพฺโพ โหติ, อุตฺตรเสตุสฺส ปุพฺเพว ถิราถิรภาวํ ชานิตฺวา อภิรุหิตพฺพํ โหติ, ภิกฺขุสฺส ปุพฺเพว อนาคตํ กาลํ ปจฺจเวกฺขิตฺวา โภชนํ ภุญฺชิตพฺพํ โหติ, โพธิสตฺตานํ ปุพฺเพว กุลํ โอโลเกตพฺพํ โหติ ขตฺติยกุลํ วา พฺราหฺมณกุลํ วาติฯ อิเมสํ โข, มหาราช, อฏฺฐนฺนํ ปุพฺเพว อนาคตํ โอโลเกตพฺพํ โหตี’’ติฯ ‘‘สาธุ, ภนฺเต นาคเสน, เอวเมตํ ตถา สมฺปฏิจฺฉามี’’ติฯ

มหาราช ขอถวายพระพรมหาบพิตร อนาคตํ สิ่งที่ยังไม่มาถึงอนาคต เป็นกิจ อฏฺฐนฺนํ อันบุคคลทั้งหลาย ๘ โอโลเกตพฺพํ พึงตรวจดู ปุพฺเพว ก่อนนั่นเทียวโหติ ย่อมเป็น, กตเมสํ อนาคตํ สิ่งที่ยังไม่มาถึง เป็นกิจ อฏฺฐนฺนํ อันบุคคลทั้งหลาย ๘ เหล่าไหนเล่า โอโลเกตพฺพํ พึงตรวจดู ปุพฺเพว ก่อนนั่นเทียว โหติ ย่อมเป็น, มหาราช มหาบพิตร วิกฺกยภณฺฑํ สินค้าที่จะพึงขาย เป็นของ วาณิชฺชสฺส อันพ่อค้า โอโลเกตพฺพํ  พึงตรวจดู ปุพฺเพว ในกาลก่อนนั่นเทียว โหติ ย่อมเป็น,  มคฺโค หนทาง อนาคโต อันตนไม่เคยไป  เป็นทาง หตฺถินาคสฺส อันพญาช้าง โอโลเกตพฺโพ พึงตรวจดู (คลำ) โสณฺฑาย ด้วยงวง ปุพฺเพว ในกาลก่อนนั่นเทียว โหติ ย่อมเป็น, ติตฺถํ ท่าข้าม อนาคตํ ที่ยังไม่มาถึง สากฏิกสฺส อันคนขับเกวียน โอโลเกตพฺพํ เป็นท่าข้ามพึงตรวจดู ปุพฺเพว ก่อนนั่นเทียว โหติ ย่อมเป็น, นาวา เรือ เป็นเรือ นิยามกสฺส อันต้นหนเรือ โอโลเกตฺวา ตรวจดูแล้ว ตีรํ ซึ่งฝั่ง อนาคตํ อันไม่เคยมาถึง ปุพฺเพว ก่อนนั่นเทียว เปเสตพฺพา พึงปล่อยไป โหติ ย่อมเป็น, อาตุโร คนป่วย เป็นผู้ ภิสกฺกสฺส อันแพทย์ โอโลเกตฺวา ตรวจดู อายุํ ซึ่งอายุ (คนไข้) ปุพฺเพว ก่อนนั่นเทียว อุปสงฺกมิตพฺโพ จึงเข้าไปหา โหติ ย่อมเป็น, (ถิรํ) ความมั่นคง เป็นสิ่ง อุตฺตรเสตุสฺส อันบุคคลผู้จะข้ามสะพาน  ชานิตฺวา พึงรู้ ถิราถิรภาวํ ซึ่งความเป็นของมั่นคงหรือไม่มั่นคง ปุพฺเพว ก่อนนั่นเทียว อภิรุหิตพฺพํ พึงขึ้นไป โหติ ย่อมเป็น, โภชนํ โภชนะเป็นสิ่ง ภิกฺขุสฺส อันภิกษุ ปจฺจเวกฺขิตฺวา พิจารณาแล้ว กาลํ ซึ่งกาล อนาคตํ อันไม่มาถึง ปุพฺเพว เสียก่อนนั่นเทียว ภิญฺชิตพฺพํ แล้วพึงฉัน โหติ ย่อมเป็น, กุลํ ตระกูลเป็นสิ่ง โพธิสตฺตานํ อันพระโพธิสัตว์ทั้ืงหลาย โอโลเกตพฺพํ พึงตรวจดู ปุพฺเพว เสียก่อน อิติ ว่า ขตฺติยกุลํ วา เป็นตระกูลกษัตริย์ หรือ พฺราหฺมณกุลํ วา หรือว่า เป็นตระกูลพราหมณ์ ดังนี้ โหติ ย่อมเป็น[6]. มหาราช มหาบพิตร อนาคตํ สิ่งอันยังไม่มา อิเมสํ โข อฏฺฐนฺนํ อันบุคคลทั้งหลาย ๘ โอโลเกตพฺพํ พึงตรวจดู ปุพฺเพว ก่อนนั่นเทียว ดังนี้.

 

‘‘สาธุ, ภนฺเต นาคเสน, เอวเมตํ ตถา สมฺปฏิจฺฉามี’’ติฯ

มิลินฺโท ราชา พระเจ้ามิลินท์ อาห ตรัสแล้ว อิติ ว่า ภนฺเต นาคเสน ข้าแต่พระนาคเสนผู้เจริญ สาธุ พระคุณเจ้าวิสัชนาชอบแล้ว, อหํ ข้าพเจ้า สมฺปฏิจฺฉามิ ยอมรับ เอตํ ซึ่งคำนั้น ตถา โดยประการที่พระคุณเจ้ากล่าวมา เอวํ อย่างนี้ ดังนี้

 

โพธิสตฺตธมฺมตาปญฺโห จตุตฺโถ

โพธิสตฺตธมฺมตาปญฺโห ปัญหาเกี่ยวกับความเป็นธรรมดาแห่งพระโพธิสัตว์

จตุตฺโถ ลำดับที่สี่ นิฏฺฐิโต จบแล้ว

*****

 



[1] ความที่พระพุทธเจ้าทั้งหลายในกาลก่อนมีวิปัสสีพุทธเจ้า เป็นต้น ในกาลก่อนที่ยังเป็นพระโพธิสัตว์อยู่ ได้กำหนดผู้เป็นมารดาและบิดาไว้แน่นอนแล้ว เป็นต้น มาใน มหาปทานสูตร  ที่พระผู้มีพระภาคตรัสไว้ว่า ภิกษุทั้งหลาย พระผู้มีพระภาควิปัสสีอรหันตสัมมาสัมพุทธเจ้า ทรงมีพระราชนามว่า พระเจ้าพันธุมา เป็นพระชนก ทรงมีพระเทวีพระนามว่า พันธุมดี เป็นพระชนนี ภิกษุทั้งหลาย ในกาลอดีต นับแต่นี้ไป ๙๑ กัป พระผู้มีพระภาควิปัสสีอรหันตสัมมาสัมพุทธเจ้า ทรงอุบัติขึ้นแล้วในโลก ภิกษุทั้งหลาย พระผู้มีพระภาควิปัสสีอรหันตสัมมาสัมพุทธเจ้า ทรงมีคู่อัครสาวกชื่อว่า พระขัณฑะและพระติสสะ ภิกษุทั้งหลาย พระผู้มีพระภาควิปัสสีอรหันตสัมมาสัมพุทธเจ้า ทรงมีพระอุปัฏฐากชั้นยอด ชื่อว่าอโสกะ ดังนี้

[2] คำว่า เมื่อญาณยังไม่แก่กล้า ก็หาความรู้มิได้ ความว่า เมื่อญาณ คือ พระปัญญายังไม่แก่กล้า ยังไม่สุกงอม ด้วยอำนาจแห่งการบำเพ็ญบารมี ก็หาความรู้ที่จะตรวจดูมหาวิโลกนะ ๘ อย่างนั้น มิได้ อธิบาย ไม่อาจทำความรู้เกี่ยวกับการตรวจดูให้เกิดขึ้นได้

[3] คำว่า เมื่อญาณแก่กล้าแล้ว ก็ไม่อาจให้สิ่งเหล่านี้ซึ่งแต่ละอย่างไม่ใช่ฐานะได้หวนกลับคืนมา ความว่า เมื่อญาณแก่กล้าแล้ว ก็ได้สำเร็จเป็นพระพุทธเจ้าเอง เมื่อเป็นเช่นนั้น ก็ไม่อาจให้สิ่งเหล่านี้ คือ มหาวิโลกนะ ๘ อย่างเหล่านี้ ได้หวนกลับคืนมาเพื่อจะตรวจดู คือ ไม่อาจหวนกลับไปตรวจดู เพราะเมื่อสำเร็จเป็นพระพุทธเจ้าแล้ว พระพุทธเจ้าทรงอุบัติแล้วในโลก สิ่ง ๘ อย่างเหล่านี้ ก็ไม่ใช่ฐานะที่จะพึงตรวจดู ประโยชน์อะไรด้วยการตรวจดูนั้นเล่า

[4] นิมฺเมสนฺตรมฺปิ นี้ มิลินทฏีกา แก้เป็น จกฺขุนิมฺมิสนกฺขณมฺปิ แม้เพียงชั่วชณะกระพริบตา. ด้วยมตินี้ บทนี้จะแปลว่า อันพระพุทธเจ้า ผู้ทรงอุบัติแล้ว ไม่อาจ เพื่อยังกาล แม้ชั่วขณะพริบตาหนึ่ง ให้มา ความหมายคือ ไม่อาจรั้งรอการตรัสรู้แม้เพียงชั่วชณะพริบตาหนึ่ง จักต้องตรัสรู้

[5] คือ ถ้าหากว่าพระโพธิสัตว์ในปางก่อน ได้ตรวจดูผู้เป็นมารดาบิดาไว้ จริงแล้วไซร้ ก็ไม่น่าจะต้องมีการตรวจดูตระกูลอีก เพราะเมื่อกำหนดผู้เป็นมารดาบิดาไว้แน่นอนแล้ว ก็เป็นอันต้องยอมรับตระกูลของมารดาบิดานั้นด้วย

[6] คำว่า ตรวจดูตระกูลอย่างนี้ว่า ฯลฯ เป็นกษัตริย์ หรือว่า เป็นพราหมณ์ คือ กำหนดผู้เป็นมารดาบิดาไว้ก็จริง แต่ก็ต้องเป็นผู้ที่ตั้งอยู่ในตระกูล ๒ อย่าง คือ กษัตริย์ หรือพราหมณ์ นี้เท่านั้น เพราะฉะนั้น จึงต้องมีการตรวจดูอีกว่า มารดาและบิดาของเรา เป็นกษัตริย์หรือว่าเป็นพราหมณ์.

ไม่มีความคิดเห็น:

แสดงความคิดเห็น