วันพฤหัสบดีที่ 24 ตุลาคม พ.ศ. 2567

๔๖ เมตตาภาวนานิสังสปัญหา ปัญหาเกี่ยวกับอานิสงส์ของเมตตาภาวนา (ปัญหาที่ ๖ ในสัพพัญญุตญาณวรรคที่ ๔ เมณฑกกัณฑ์)

 

๖. เมตฺตาภาวนานิสํสปญฺโห

ปัญหาเกี่ยวกับอานิสงส์ของการเจริญเมตตา

. ‘‘ภนฺเต นาคเสน, ภาสิตมฺเปตํ ภควตาเมตฺตาย, ภิกฺขเว, เจโตวิมุตฺติยา อาเสวิตาย ภาวิตาย พหุลีกตาย ยานีกตาย วตฺถุกตาย อนุฏฺฐิตาย ปริจิตาย สุสมารทฺธาย เอกาทสานิสํสา ปาฏิกงฺขาฯ กตเม เอกาทส? สุขํ สุปติ, สุขํ ปฏิพุชฺฌติ, น ปาปกํ สุปินํ ปสฺสติ, มนุสฺสานํ ปิโย โหติ, อมนุสฺสานํ ปิโย โหติ, เทวตา รกฺขนฺติ, นาสฺส อคฺคิ วา วิสํ วา สตฺถํ วา กมติ, ตุวฏํ จิตฺตํ สมาธิยติ, มุขวณฺโณ วิปฺปสีทติ, อสมฺมูฬฺโห กาลํ กโรติ, อุตฺตริํ อปฺปฏิวิชฺฌนฺโต พฺรหฺมโลกูปโค โหตีติฯ ปุน จ ตุมฺเห ภณถ สาโม กุมาโร เมตฺตาวิหารี มิคสงฺเฆน ปริวุโต ปวเน วิจรนฺโต ปีฬิยกฺเขน รญฺญา วิทฺโธ วิสปีเตน สลฺเลน ตตฺเถว มุจฺฉิโต ปติโตติฯ

๖. มิลินฺโท ราชา พระเจ้ามิลินท์ อาห ตรัสถามแล้ว อิติ ว่า ภนฺเต นาคเสน ข้าแต่พระนาคเสนผู้เจริญ เอตํ วจนํ พระดำรัสนี้ ภควตา อันพระผู้มีพระภาค ภาสิตํ ทรงภาษิตไว้ อิติ ว่า ภิกฺขเว ภิกษุทั้งหลาย เมตฺตาย เจโตวิมุตฺติยา เมตตาอันเป็นความหลุดพ้นแห่งใจ[1]  เยน ปุคฺคเลน อันบุคคลใด อาเสวิตาย เสพแล้ว ภาวิตาย เจริญแล้ว พหุลีกตาย กระทำให้มากแล้ว ยานีกตาย ทำให้เป็นดุจยานแล้ว[2] วตฺถุกตาย ทำให้เป็นที่ตั้งแล้ว อนุฏฺฐิตาย ให้ตั้ืงมั่นแล้ว ปริจิตาย สั่งสมแล้ว สุสมารทฺธา ปรารภดีแล้ว, เอกาทสานิสํสา อานิสงส์ ๑๑ เตน ปุคฺคเลน อันบุคคลนั้น ปาฏิกงฺขา พึงหวังได้, อานิสงฺสา อานิสงส์ทั้งหลาย เอกาทสา ๑๑ กตเม เหล่าไหน, อานิสงฺสา อานิสงส์ทั้งหลาย เอกาทสา๑๑ ประการ อิเม เหล่านี้ คือ สุปติ ย่อมหลับ สุขํ สบาย, ปฏิพุชฺฌติ ย่อมตื่น สุขํ อย่างมีความสุข, น ปสฺสติ ย่อมไม่เห็น สุปนํ ซึ่งความฝัน ปาปกํ อันเลว, ปิโย เป็นที่รัก มนุสฺสานํ ของมนุษย์ทั้งหลาย โหติ ย่อมเป็น, ปิโย เป็นที่รัก อมนุสฺสานํ ของอมนุษย์ทั้งหลาย โหติ ย่อมเป็น, เทวตา เทวดาทั้งหลาย รกฺขนฺติ ย่อมรักษา, อคฺคิ วา ไฟ ก็ตาม วิสํ วา ยาพิษ ก็ตาม สตฺถํ วา ศาสตราวุธ ก็ตาม น กมติ ย่อมไม่ก้าวล่วง, จิตฺตํ จิต สมาธิยติ ย่อมตั้งมั่น ตุวฏํ เร็ว, มุขวณฺโณ สีหน้า วิปฺปสีทติ ย่อมผุดผ่อง, อสมฺมูฬฺโห หุตฺวา เป็นผู้ไม่หลง กโรติ กระทำอยู่ กาลํ ซึ่งกาละ, อปฺปฏิวิชฺฌนฺโต เมื่อไม่แทงตลอด อุตฺตริํ คุณวิเสสํ ซึ่งคุณวิเศษอันยิ่ง พฺรหฺมโลกูปโค เป็นผู้เข้าถึงซึ่งพรหมโลก โหติ ย่อมเป็น [3]ดังนี้. ก็ ตุมฺเห ท่านทั้ืงหลาย ภณถ ยังกล่าว ปุน อีก อิติ ว่า สาโม กุมาโร สามกุมาร (สุวรรณสามกุมาร) เมตฺตาวิหารี ผู้มีเมตตาเป็นธรรมเครื่องอยู่ มิคสงฺเฆน อันหมู่แห่งเนื้อ ปริวุโต แวดล้อมแล้ว วิจรนฺโต เมื่อเที่ยวไป วเน ในป่า ปีฬิยกฺเขน รญฺญา อันท้าวปีฬิยักษ์ วิทฺโธ ยิงแล้ว มุจฺฉิโต สลบแล้ว ปติโต ล้มแล้ว สลฺเลน ด้วยศร วิสปีเตน อันอาบด้วยยาพิษ ตตฺเถว ในป่านั้นนั่นเทียว ดังนี้

‘‘ยทิ, ภนฺเต นาคเสน, ภควตา ภณิตํ เมตฺตาย ภิกฺขเวเป.พฺรหฺมโลกูปโค โหตีติ, เตน หิ ‘‘สาโม กุมาโร เมตฺตาวิหารี มิคสงฺเฆน ปริวุโต ปวเน วิจรนฺโต ปีฬิยกฺเขน รญฺญา วิทฺโธ วิสปีเตน สลฺเลน ตตฺเถว มุจฺฉิโต ปติโตติ ยํ วจนํ, ตํ มิจฺฉาฯ

ภนฺเต นาคเสน ข้าแต่พระนาคเสนผู้เจริญ ยทิ ถ้า อิทํ วจนํ คำนี้ ภควตา อันพระผู้มีพระภาค ภณิตํ ตรัสไว้ อิติ ว่า ภิกฺขเว ภิกษุทั้งหลาย เมตฺตาย เจโตวิมุตฺติยา เมตตาอันเป็นความหลุดพ้นแห่งใจ เยน ปุคฺคเลน อันบุคคลใด อาเสวิตาย เสพแล้ว ฯลฯ อปฺปฏิวิชฺฌนฺโต เมื่อไม่แทงตลอด อุตฺตริํ คุณวิเสสํ ซึ่งคุณวิเศษอันยิ่ง พฺรหฺมโลกูปโค เป็นผู้เข้าถึงซึ่งพรหมโลก โหติ ย่อมเป็น ดังนี้, เตน หิ ถ้าอย่างนั้น ยํ วจนํ คำใด อิติ ว่า สาโม กุมาโร สามกุมาร เมตฺตาวิหารี ผู้อยู่ด้วยเมตตาธรรม มิคสงฺเฆน อันหมู่แห่งเนื้อ ปริวุโต แวดล้อมแล้ว วิจรนฺโต เมื่อเที่ยวไป วเน ในป่า ปีฬิยกฺเขน รญฺญา อันท้าวปีฬิยักษ์ วิทฺโธ ยิงแล้ว มุจฺฉิโต สลบแล้ว ปติโต ล้มแล้ว สลฺเลน ด้วยศร วิสปีเตน อันอาบด้วยยาพิษ ตตฺเถว ในป่านั้นนั่นเทียว ดังนี้, ตํ วจนํ คำนั้น มิจฺฉา ก็ผิด.


ยทิ สาโม กุมาโร เมตฺตาวิหารี มิคสงฺเฆน ปริวุโต ปวเน วิจรนฺโต ปีฬิยกฺเขน รญฺญา วิทฺโธ วิสปีเตน สลฺเลน ตตฺเถว มุจฺฉิโต ปติโต, เตน หิเมตฺตาย, ภิกฺขเวเป.สตฺถํ วา กมตีติ ตมฺปิ วจนํ มิจฺฉาฯ

ยทิ ถ้า สาโม กุมาโร สามกุมาร เมตฺตาวิหารี ผู้อยู่ด้วยเมตตาธรรม มิคสงฺเฆน อันหมู่แห่งเนื้อ ปริวุโต แวดล้อมแล้ว วิจรนฺโต เมื่อเที่ยวไป วเน ในป่า ปีฬิยกฺเขน รญฺญา อันท้าวปีฬิยักษ์ วิทฺโธ ยิงแล้ว มุจฺฉิโต ทรงสลบแล้ว ปติโต ทรงล้มไปแล้ว สลฺเลน ด้วยศร วิสปีเตน อันอาบด้วยยาพิษ ตตฺเถว ในป่านั้นนั่นเทียว ดังนี้, เตน หิ ถ้าอย่างนั้น ตมฺปิ วจนํ คำแม้นั้น อิติ ว่า ภิกฺขเว ภิกษุทั้งหลาย เมตฺตาย เจโตวิมุตฺติยา เมตตาอันเป็นความหลุดพ้นแห่งใจ เยน ปุคฺคเลน อันบุคคลใด อาเสวิตาย เสพแล้ว ฯลฯ อปฺปฏิวิชฺฌนฺโต เมื่อไม่แทงตลอด อุตฺตริํ คุณวิเสสํ ซึ่งคุณวิเศษอันยิ่ง พฺรหฺมโลกูปโค เป็นผู้เข้าถึงซึ่งพรหมโลก โหติ ย่อมเป็น ดังนี้ มิจฺฉา ผิด.


อยมฺปิ อุภโต โกฏิโก ปญฺโห สุนิปุโณ ปริสณฺโห สุขุโม คมฺภีโร, อปิ สุนิปุณานํ มนุชานํ คตฺเต เสทํ โมเจยฺย, โส ตวานุปฺปตฺโต, วิชเฏหิ ตํ มหาชฏาชฏิตํ, อนาคตานํ ชินปุตฺตานํ จกฺขุํ เทหิ นิพฺพาหนายา’’ติฯ

อยมฺปิ ปญฺโห ปัญหาแม้นี้ โกฏิโก มีเงื่อนงำ อุภโต โดยส่วนสอง สุนิปุโณ เป็นปัญหาที่ละเอียด ปริสณฺโห อ่อนนัก สุขุโม สุขุม คมฺภีโร ลึกซึ้ง, อปิ ปัญหาอย่างนี้แล เสทํ พึงยังเหงื่อ คตฺเต ในกาย มนุชานํ ของมนุษย์ สุณิปุณานํ ผู้ละเอียดอ่อน โมเจยฺย ให้ไหล,  โส ปญฺโห ปัญหานั้น อนุปฺปตฺโต ตกถึงแล้ว ตว แก่ท่าน, ตฺวํ  ขอท่าน วิชเฏหิ จงสาง ตํ ปญฺหํ ปัญหานั้น มหาชฏาชฏิตํ ที่รกยุ่งดุจรกชัฏใหญ่นั้นเถิด, เทหิ ขอจงมอบ จกฺขุํ ซึ่งดวงตา นิพฺพาหนาย เพื่อใช้ขจัดปัญหาอันเป็นดุจรกชัฏนั้น ชิปุตฺตานํ แก่ภิกษุผู้เป็นชินบุตร อนาคตานํ ผู้มีในอนาคตกาล เถิด ดังนี้[4]


‘‘ภาสิตมฺเปตํ, มหาราช, ภควตา เมตฺตาย ภิกฺขเวเป... สตฺถํ วา กมตีติฯ สาโม จ กุมาโร เมตฺตาวิหารี มิคสงฺเฆน ปริวุโต ปวเน วิจรนฺโต ปีฬิยกฺเขน รญฺญา วิทฺโธ วิสปีเตน สลฺเลน ตตฺเถว มุจฺฉิโต ปติโต,

นาคเสโน เถโร พระนาคเสนเถระ อาห ทูลแล้ว อิติ ว่า มหาราช มหาบพิตร เอตํ วจนํ พระดำรัสนี้ ภควตา อันพระผู้มีพระภาค ภาสิตมฺปิ ทรงภาษิตไว้จริง อิติ ว่า ภิกฺขเว ภิกษุทั้งหลาย เมตฺตาย เจโตวิมุตฺติยา เมตตาอันเป็นความหลุดพ้นแห่งใจ เยน ปุคฺคเลน อันบุคคลใด อาเสวิตาย เสพแล้ว ฯลฯ อปฺปฏิวิชฺฌนฺโต เมื่อไม่แทงตลอด อุตฺตริํ คุณวิเสสํ ซึ่งคุณวิเศษอันยิ่ง พฺรหฺมโลกูปโค เป็นผู้เข้าถึงซึ่งพรหมโลก โหติ ย่อมเป็น ดังนี้. สาโม กุมาโร สามกุมาร เมตฺตาวิหารี ผู้อยู่ด้วยเมตตาธรรม มิคสงฺเฆน อันหมู่แห่งเนื้อ ปริวุโต แวดล้อมแล้ว วิจรนฺโต เมื่อเที่ยวไป วเน ในป่า ปีฬิยกฺเขน รญฺญา อันท้าวปีฬิยักษ์ วิทฺโธ ยิงแล้ว มุจฺฉิโต สลบแล้ว ปติโต ล้มแล้ว สลฺเลน ด้วยศร วิสปีเตน อันอาบด้วยยาพิษ ตตฺเถว ในป่านั้นนั่นเทียว ดังนี้ ก็เป็นจริง


ตตฺถ ปน, มหาราช, การณํ อตฺถิฯ กตมํ ตตฺถ การณํ? เนเต, มหาราช, คุณา ปุคฺคลสฺส, เมตฺตาภาวนาเยเต คุณา, สาโม, มหาราช, กุมาโร ฆฏํ อุกฺขิปนฺโต ตสฺมิํ ขเณ เมตฺตาภาวนาย ปมตฺโต อโหสิฯ

มหาราช มหาบพิตร ปน แต่ว่า การณํ เหตุ ตตฺถ ในเรื่องนั้น อตฺถิ มีอยู่, การณํ เหตุ ตตฺถ ในเรื่องนั้น กตมํ เป็นไฉน? มหาราช มหาบพิตร เอเต คุณา คุณ (๑๑) เหล่านี้  น คุณา มิใช่เป็นคุณ ปุคฺคลสฺส ของบุคคล, เอเต คุณเหล่านี้ คุณา เป็นคุณ เมตฺตาภาวนาย ของเมตตาภาวนา, มหาราช มหาบพิตร สาโม กุมาโร สามกุมาร อุกฺขิปนฺโต เมื่อยก ฆฏํ ซึ่งหม้อ ปมตฺโต จึงเป็นผู้หลงลืม เมตฺตาภาวนาย ต่อการเจริญเมตตา ตสฺมิํ ขเณ ในขณะนั้น อโหสิ ได้เป็นแล้ว

 

‘‘ยสฺมิํ, มหาราช, ขเณ ปุคฺคโล เมตฺตํ สมาปนฺโน โหติ, น ตสฺส ปุคฺคลสฺส ตสฺมิํ ขเณ อคฺคิ วา วิสํ วา สตฺถํ วา กมติฯ ตสฺส เย เกจิ อหิตกามา อุปคนฺตฺวา ตํ น ปสฺสนฺติ, น ตสฺมิํ โอกาสํ ลภนฺติฯ เนเต, มหาราช, คุณา ปุคฺคลสฺส, เมตฺตาภาวนาเยเต คุณาฯ อิธ, มหาราช, ปุริโส สงฺคามสูโร อเภชฺชกวจชาลิกํ สนฺนยฺหิตฺวา สงฺคามํ โอตเรยฺย, ตสฺส สรา ขิตฺตา อุปคนฺตฺวา ปตนฺติ วิกิรนฺติ, น ตสฺมิํ โอกาสํ ลภนฺติ, เนโส, มหาราช, คุโณ สงฺคามสูรสฺส, อเภชฺชกวจชาลิกาเยโส คุโณ, ยสฺส สรา ขิตฺตา อุปคนฺตฺวา ปตนฺติ วิกิรนฺติฯ เอวเมว โข, มหาราช, เนเต คุณา ปุคฺคลสฺส, เมตฺตาภาวนาเยเต คุณาฯ

มหาราช มหาบพิตร ยสฺมิํ ขเณ ในขณะใด ปุคฺคโล บุคคล สมาปนฺโน เป็นผู้เข้าถึงแล้ว เมตฺตํ ซึ่งเมตตาภาวนา โหติ ย่อมเป็น, อคฺคิ วา ไฟก็ตาม วิสํ วา ยาพิษ ก็ตาม สตฺถํ วา ศาสตราวุธ ก็ตาม น กมติ ย่อมไม่ก้าวล่วง ตสฺส ปุคฺคลสฺส ต่อบุคคลนั้น ตสฺมิํ ขเณ ในขณะนั้น. เย เกจิ บุคคลใดๆก็ตาม อหิตกามา ผู้ประสงค์ความฉิบหายไม่ใช่ประโยชน์เกื้อกูล ตสฺส ต่อเขา อุปคนฺตฺวา ครั้นเข้าใกล้แล้ว  ปสฺสนฺติ ย่อมเห็น ตํ เมตฺตาภาวนาสมาปนฺนํ ผู้เข้าถึงแล้วซึ่งฌานนั้น หามิได้, น ลภนฺติ จะไม่ได้ โอกาสํ ซึ่งโอกาส ตสฺมิํ ขเณ ในขณะนั้น. มหาราช มหาบพิตร เอเต คุณา คุณทั้งหลายเหล่านี้ หาได้เป็น คุณา คุณ ปคฺคลสฺส ของบุคคลไม่, เอเต คุณา คุณเหล่านี้ คุณา เป็นคุณ เมตฺตาภาวนาย ของเมตตาภาวนา โหนฺติ ย่อมเป็น. มหาราช มหาบพิตร ปุริโส บุรุษ สงฺคามสูโร ผู้แกล้วกล้าในสงคราม อิธ ในโลกนี้ สนฺนยฺหิตฺวา ผูกสอดแล้ว อเภชฺชกวจชาลิกํ ซึ่งเกราะตาข่ายอันไม่แตกทะลุแล้ว โอตเรยฺย พึงก้าวลง สงฺคามํ สู่สงคราม, สรา ลูกศร ปจฺจามิตฺเตหิ อันข้าศึก ขิตฺตา ยิงแล้ว ตสฺส ต่อเขา ปตนฺติ ย่อมตกหล่น วิกิรนฺติ ย่อมกระจัดกระจายไป, เอเต สรา ศรทั้งหลายเหล่านั้น น ลภนฺติ ย่อมไม่ได้ โอกาสํ ซึ่งโอกาส ตสฺมิํ ขเณ ในขณะนั้น, มหาราช มหาบพิตร เอโส นี้ คุโณ เป็นคุณ สงฺคามสูรสฺส ของบุคคลผู้แกล้วกล้าในสงคราม หามิได้, สรา ศร ปจฺจามิตฺเตหิ อันข้าศึก ขิตฺตา ยิงแล้ว อุปคนฺตฺวา ครั้นมาใกล้แล้ว ปตนฺติ ย่อมตก วิกิรนฺติ ย่อมเรี่ยรายไป เตเชน ด้วยเดช ยสฺส คุณสฺส แห่งคุณใด,  เอโส คุโณ คุณนี้ คุโณ เป็นคุณ อเภชฺชกวจชาลิกาย ของเกราะตาข่ายที่ไม่ขาดแล้ว โหติ ย่อมเป็น (ยถา) ฉันใด. มหาราช มหาบพิตร มหาบพิตร เอเต คุณา คุณทั้งหลายเหล่านี้ หาได้เป็น คุณา คุณ ปุคฺคลสฺส ของบุคคลไม่, เอเต คุณา คุณเหล่านี้ คุณา เป็นคุณ เมตฺตาภาวนาย ของเมตตาภาวนา โหนฺติ ย่อมเป็น เอวเมว ฉันนั้นนั่นเทียว.

 

‘‘ยสฺมิํ, มหาราช, ขเณ ปุคฺคโล เมตฺตํ สมาปนฺโน โหติ, น ตสฺส ปุคฺคลสฺส ตสฺมิํ ขเณ อคฺคิ วา วิสํ วา สตฺถํ วา กมติฯ ตสฺส เย เกจิ อหิตกามา อุปคนฺตฺวา ตํ น ปสฺสนฺติ, ตสฺมิํ โอกาสํ น ลภนฺติ, เนเต, มหาราช, คุณา ปุคฺคลสฺส, เมตฺตาภาวนาเยเต คุณาฯ อิธ ปน, มหาราช, ปุริโส ทิพฺพํ อนฺตรธานํ มูลํ หตฺเถ กเรยฺย, ยาว ตํ มูลํ ตสฺส หตฺถคตํ โหติ, ตาว น อญฺโญ โกจิ ปกติมนุสฺโส ตํ ปุริสํ ปสฺสติฯ เนโส, มหาราช, คุโณ ปุริสสฺส, มูลสฺเสโส คุโณ อนฺตรธานสฺส, ยํ โส ปกติมนุสฺสานํ จกฺขุปเถ น ทิสฺสติฯ เอวเมว โข, มหาราช, เนเต คุณา ปุคฺคลสฺส, เมตฺตาภาวนาเยเต คุณา.

มหาราช มหาบพิตร ยสฺมิํ ขเณ ในขณะใด ปุคฺคโล บุคคล สมาปนฺโน เป็นผู้เข้าถึงแล้ว เมตฺตํ ซึ่งเมตตาภาวนา โหติ ย่อมเป็น, อคฺคิ วา ไฟก็ตาม วิสํ วา ยาพิษ ก็ตาม สตฺถํ วา ศาสตราวุธ ก็ตาม น กมติ ย่อมไม่ก้าวล่วง ตสฺส ปุคฺคลสฺส ต่อบุคคลนั้น ตสฺมิํ ขเณ ในขณะนั้น. เย เกจิ บุคคลใดๆก็ตาม อหิตกามา ผู้ประสงค์ความฉิบหายไม่ใช่ประโยชน์เกื้อกูล ตสฺส ต่อเขา อุปคนฺตฺวา ครั้นเข้าใกล้แล้ว  ปสฺสนฺติ ย่อมเห็น ตํ เมตฺตาภาวนาสมาปนฺนํ ผู้เข้าถึงแล้วซึ่งฌานนั้น หามิได้, น ลภนฺติ จะไม่ได้ โอกาสํ ซึ่งโอกาส ตสฺมิํ ขเณ ในขณะนั้น. มหาราช มหาบพิตร เอเต คุณา คุณทั้งหลายเหล่านี้ หาได้เป็น คุณา คุณ ปคฺคลสฺส ของบุคคลไม่, เอเต คุณา คุณเหล่านี้ คุณา เป็นคุณ เมตฺตาภาวนาย ของเมตตาภาวนา โหนฺติ ย่อมเป็น. มหาราช มหาบพิตร โย โกจิ ปุริโส บุรุษบางคน อิธ ในโลกนี้ กเรยฺย พึงกระทำ มูลํ ซึ่งรากไม้ ทิพฺพํ อันเป็นทิพย์ อนฺตรธานํ ที่ใช้หายตัวได้ หตฺเถ ในมือ, ตํ มูลํ รากไม้ทิพย์นั้น หตฺถคตํ เป็นของอยู่ในมือ ตสฺส ปุริสสฺส ของบุรุษนั้น โหติ ย่อมเป็น ยาว เพียงใด, ปกติมนุสฺโส บุรุษปกติ อญฺโญ อื่น โกจิ บางคน น ปสฺสติ ย่อมไม่เห็น ตํ ปุริสํ ซึ่งบุรุษนั้น ตาว เพียงนั้น. มหาราช มหาบพิตร เอโส นี้ คุโณ เป็นคุณ ปุริสสฺส ของบุรุษนั้น หามิได้ โหติ ย่อมเป็น,โส ปุริโส บุรุษนั้น น ทิสฺสติ ย่อมไม่ปรากฏ จกฺขุปเถ ที่คลองแห่งจักษุ ปกติมนุสฺสานํ ของมนุษย์ปกติทั้งหลาย ยํ ใด, เอโส (ปกติมนุสฺสานํ จกฺขุปเถ น ทสฺสนภาโว) การที่บุรุษนั้นไม่ปรากฏในคลองแห่งจักษุของมนุษย์ปกตินี้ คุโณ เป็นคุณ มูลสฺส แห่งรากไม้ อนฺตรธานสฺส ที่ใช้หายตัวได้  (ยถา) ฉันใด, มหาราช มหาบพิตร มหาบพิตร เอเต คุณา คุณทั้งหลายเหล่านี้ หาได้เป็น คุณา คุณ ปุคฺคลสฺส ของบุคคลไม่, เอเต คุณา คุณเหล่านี้ คุณา เป็นคุณ เมตฺตาภาวนาย ของเมตตาภาวนา โหนฺติ ย่อมเป็น เอวเมว ฉันนั้นนั่นเทียว.

 

‘‘ยสฺมิํ, มหาราช, ขเณ ปุคฺคโล เมตฺตํ สมาปนฺโน โหติ, น ตสฺส ปุคฺคลสฺส ตสฺมิํ ขเณ อคฺคิ วา วิสํ วา สตฺถํ วา กมติฯ ตสฺส เย เกจิ อหิตกามา อุปคนฺตฺวา ตํ น ปสฺสนฺติ, น ตสฺมิํ โอกาสํ ลภนฺติฯ เนเต, มหาราช, คุณา ปุคฺคลสฺส, เมตฺตาภาวนาเยเต คุณาฯ ยถา วา ปน, มหาราช, ปุริสํ สุกตํ มหาเลณมนุปฺปวิฏฺฐํ มหติมหาเมโฆ อภิวสฺสนฺโต น สกฺโกติ เตมยิตุํ, เนโส, มหาราช, คุโณ ปุริสสฺส, มหาเลณสฺเสโส คุโณ, ยํ มหาเมโฆ อภิวสฺสมาโน น ตํ เตเมติฯ เอวเมว โข, มหาราช, เนเต คุณา ปุคฺคลสฺส, เมตฺตาภาวนาเยเต คุณาฯ

มหาราช มหาบพิตร ยสฺมิํ ขเณ ในขณะใด ปุคฺคโล บุคคล สมาปนฺโน เป็นผู้เข้าถึงแล้ว เมตฺตํ ซึ่งเมตตาภาวนา โหติ ย่อมเป็น, อคฺคิ วา ไฟก็ตาม วิสํ วา ยาพิษ ก็ตาม สตฺถํ วา ศาสตราวุธ ก็ตาม น กมติ ย่อมไม่ก้าวล่วง ตสฺส ปุคฺคลสฺส ต่อบุคคลนั้น ตสฺมิํ ขเณ ในขณะนั้น. เย เกจิ บุคคลใดๆก็ตาม อหิตกามา ผู้ประสงค์ความฉิบหายไม่ใช่ประโยชน์เกื้อกูล ตสฺส ต่อเขา อุปคนฺตฺวา ครั้นเข้าใกล้แล้ว  ปสฺสนฺติ ย่อมเห็น ตํ เมตฺตาภาวนาสมาปนฺนํ ผู้เข้าถึงแล้วซึ่งฌานนั้น หามิได้, น ลภนฺติ จะไม่ได้ โอกาสํ ซึ่งโอกาส ตสฺมิํ ขเณ ในขณะนั้น. มหาราช มหาบพิตร เอเต คุณา คุณทั้งหลายเหล่านี้ หาได้เป็น คุณา คุณ ปคฺคลสฺส ของบุคคลไม่, เอเต คุณา คุณเหล่านี้ คุณา เป็นคุณ เมตฺตาภาวนาย ของเมตตาภาวนา โหนฺติ ย่อมเป็น. มหาราช มหาบพิตร มหติมหาเมโฆ มหาเมฆใหญ่ อภิวสฺสนฺโต ตกพรำอยู่ น สกฺโกติ ย่อมไม่อาจ เตมยิตุํ เพื่อยัง - ปุริสํ ยังบุรุษ มหาเลณมนุปฺปวิฏฺฐํ ผู้เข้าไปสู่ถ้ำใหญ่ สุกตํ ที่ทำไว้ดีแล้ว ให้เปียก, มหาเมโฆ เมฆใหญ่ อภิวสฺสมาโน เมื่อตกพรำ ไม่ ตํ ปุริสํ ยังบุรุษนั้น เตเมติ ย่อมให้เปียก ยํ ใด, (มหาเมฆสฺส อสกฺกมานสฺส ตํ ปุริสํ เตมนภาโว) การที่มหาเมฆใหญ่ ไม่อาจ ให้เปียก เอโส นี้ คุโณ เป็นคุณ ปุคฺคลสฺส ของบุคคล หามิได้ โหติ ย่อมเป็น, เอโส คุโณ นี้เป็นคุณ มหาเลณสฺส ของถ้ำ โหติ ย่อมเป็น (ยถา) ฉันใด, เอเต คุณา คุณเหล่านี้ คุณา เป็นคุณ เมตฺตาภาวนาย ของเมตตาภาวนา โหนฺติ ย่อมเป็น เอวเมว ฉันนั้นนั่นเทียว.

 

‘‘ยสฺมิํ, มหาราช, ขเณ ปุคฺคโล เมตฺตํ สมาปนฺโน โหติ, น ตสฺส ปุคฺคลสฺส ตสฺมิํ ขเณ อคฺคิ วา วิสํ วา สตฺถํ วา กมติฯ ตสฺส เย เกจิ อหิตกามา อุปคนฺตฺวา ตํ น ปสฺสนฺติ, น ตสฺส สกฺโกนฺติ อหิตํ กาตุํ เนเต, มหาราช, คุณา ปุคฺคลสฺส, เมตฺตาภาวนาเยเต คุณา’’ติฯ

มหาราช มหาบพิตร ยสฺมิํ ขเณ ในขณะใด ปุคฺคโล บุคคล สมาปนฺโน เป็นผู้เข้าถึงแล้ว เมตฺตํ ซึ่งเมตตาภาวนา โหติ ย่อมเป็น, อคฺคิ วา ไฟก็ตาม วิสํ วา ยาพิษ ก็ตาม สตฺถํ วา ศาสตราวุธ ก็ตาม น กมติ ย่อมไม่ก้าวล่วง ตสฺส ปุคฺคลสฺส ต่อบุคคลนั้น ตสฺมิํ ขเณ ในขณะนั้น. เย เกจิ บุคคลใดๆก็ตาม อหิตกามา ผู้ประสงค์ความฉิบหายไม่ใช่ประโยชน์เกื้อกูล ตสฺส ต่อเขา อุปคนฺตฺวา ครั้นเข้าใกล้แล้ว  ปสฺสนฺติ ย่อมเห็น ตํ เมตฺตาภาวนาสมาปนฺนํ ผู้เข้าถึงแล้วซึ่งฌานนั้น หามิได้, น สกฺโกนฺติ ย่อมไม่อาจ กาตุํ เพื่อกระทำ อหิตํ ซึ่งความฉิบหายอันไม่ใช่ประโยชน์เกื้อกูล ตสฺส แก่บุคคลนั้น. มหาราช มหาบพิตร เอเต คุณา คุณทั้งหลายเหล่านี้ หาได้เป็น คุณา คุณ ปุคฺคลสฺส ของบุคคลไม่, เอเต คุณา คุณเหล่านี้ คุณา เป็นคุณ เมตฺตาภาวนาย ของเมตตาภาวนา โหนฺติ ย่อมเป็น ดังนี้.

 

‘‘อจฺฉริยํ, ภนฺเต นาคเสน, อพฺภุตํ ภนฺเต นาคเสน, สพฺพปาปนิวารณา เมตฺตาภาวนา’’ติฯ

มิลินฺโท ราชา พระเจ้ามิลินท์ อาห ตรัสแล้ว อิติ ว่า ภนฺเต นาคเสน ข้าแต่พระนาคเสนผู้เจริญ เมตฺตาภาวนา เมตตาภาวนา สพฺพปาปนิวารณา เป็นคุณที่ป้องกันแต่บาปทั้งปวง โหนฺติ ย่อมเป็น (ยํ) ใด,  เอตํ เมตฺตาภาวนาย สพฺพปาปนิวารณคุณตํ ความเป็นคุณที่ป้องกันบาปทั้งปวงแห่งเมตตาภาวนานี้ อจฺฉริยํ น่าอัศจรรย์, อพฺภุตํ น่าประหลาดใจ, ดังนี้.

‘‘สพฺพกุสลคุณาวหา, มหาราช, เมตฺตาภาวนา หิตานมฺปิ อหิตานมฺปิ, เย เต สตฺตา วิญฺญาณพทฺธา, สพฺเพสํ มหานิสํสา เมตฺตาภาวนา สํวิภชิตพฺพา’’ติฯ

นาคเสโน เถโร พระนาคเสนเถระ อาห ทูลแล้ว อิติ ว่า มหาราช มหาบพิตร เมตฺตาภาวนา เมตตาภาวนา สพฺพกุสลคุณาวหา เป็นคุณนำมาซึ่งคุณคือกุศลทั้งปวง หิตานมฺปิ แม้แก่บุคคลผู้หวังประโยชน์เกื้อกูล อหิตานมฺปิ แม้แก่บุคคลผู้ไม่หวังประโยชน์เกื้อกูล, เย เต สตฺตา สัตว์ทั้งหลายใดๆ  วิญฺญาณพทฺธา ที่นับเนื่องกับวิญญาณ อตฺถิ มีอยู่, เมตฺตาภาวนา เมตตาภาวนา มหานิสํสา อันมีอานิสงส์มาก สพฺเพสํ สตฺตานํ อันสัตว์ทั้งหลายเหล่านั้นทั้งปวง สํวิภชิตพฺพา พึงส้องเสพ ดังนี้

 

เมตฺตาภาวนานิสํสปญฺหาฯ

อตฺตนิปาตนปญฺโห ปัญหาว่าด้วยอานิสงส์การเจริญเมตตา

ฉฏฺโฐ ลำดับที่ ๖ นิฏฺฐิโต จบแล้ว



[1] คำว่า เจโตวิมุตติ หมายถึง การหลุดพ้นจากปัจจนีกธรรม กล่าวคือ กิเลสทั้งปวงด้วยอำนาจฌานสมาบัติ. ก็ เมตตา (ความปรารถนาดี) นั้น ชื่อว่า เป็นเจโตวิมุตติ เพราะเป็นเหตุให้จิตที่ประกอบกับตนหลุดพ้นจากปัจจนีกธรรม (ธรรมเป็นข้าศึก ในที่นี้หมายถึง นิวรณ์), อีกประการหนึ่ง หากระบุโดยเจาะจง เมตตา เป็นเจโตวิมุตติ เพราะพ้นจากปริยุฏฐานคือพยาบาทโดยประการทั้งปวง เพราะฉะนั้น เมตตาเจโตวิมุตติ แปลว่า เมตตา อันเป็นเหตุให้จิตหลุดพ้นจากปัจจนีกธรรม

ถาม จะกล่าวเพียง เมตตา เท่านั้น ก็น่าจะพอมิใช่หรือ เพราะเมตตาเองก็เป็นธรรมที่กำราบพยาบาทได้อยู่แล้ว เหตุไร จึงกล่าวคำว่า เจโตวิมุตติไว้ด้วย

ตอบ หากกล่าวเฉพาะ เมตตา โดยไม่มีคำว่า เจโตวิมุตติ กำกับ ย่อมมิได้หมายถึงอัปปนาฌานเพียงอย่างเดียว ก็จะรวมเอาอุปจารฌาน ซึ่งเป็นส่วนเบื้องต้น แม้มีอานุภาพระงับพยาบาทได้ แต่ยังไม่เพียงพอที่จะกำราบถึงขั้นเด็ดขาดอีกด้วย

ถ้าระบุว่า เมตตาเจโตวิมุตติ จะได้แก่ อัปปนาฌาน เท่านั้น เพราะจิตจะหลุดพ้นจากปัจจนีกธรรมด้วยดี ก็จักต้องเป็นเมตตาจิตระดับอัปปนาฌานเท่านั้น เพราะฉะนั้น จึงหมายเอาเฉพาะ อัปปนาฌาน ที่สัมปยุตด้วยเมตตาเท่านั้น.

สรุปว่า การเจริญเมตตาพรหมวิหารธรรมให้ถึงระดับอัปปนาฌาน ชื่อว่า เมตตาเจโตวิมุตติ ที่เรียกว่า เมตตาภาวนา

อีกนัยหนึ่ง การทำจิตให้น้อมไป (ในสัตว์ทั้งหลาย) ด้วยเมตตา หรือการทำจิตอันประกอบกับเมตตาให้น้อมไปในสัตว์ทั้งหลาย

[2] คือ กระทำให้เป็นดุจยามที่เทียมโคแล้ว ด้วยอำนาจแห่งการน้อมนำเอาประโยชน์สุขเข้าไปแก่สัตว์ทั้งหลาย

[3] คือ เมื่อไม่อาจบรรลุคุณที่ยิ่งกว่าเมตตา คือ พระอริยมรรค หลังจากตาย จะเข้าถึงพรหมโลก ด้วยอำนาจเมตตาภาวนา

[4] แง่ปมที่ขัดแย้งในปัญหา มีอยู่ว่า เมื่อสามกุมารเจริญเมตตาอยู่เป็นประจำ จนสัตว์ป่ารักใคร่ คอยติดตามแวดล้อมไปอย่างนี้ ก็น่าจะได้รับอานิสงส์ของเมตตา โดยเฉพาะข้อที่ว่า “ไฟก็ดี ยาพิษก็ดี ศัสตราก็ดี ย่อมไม่อาจกล้ำกรายเธอ” นี้ เมื่อเป็นเช่นนี้ เพราะเหตุไร จึงยังถูกพระเจ้าปิฬิยักษ์ยิงเอาได้อีกเล่า เมตตามิได้มีอานุภาพป้องกันได้จริงหรือไร

ไม่มีความคิดเห็น:

แสดงความคิดเห็น