วันอังคารที่ 2 สิงหาคม พ.ศ. 2559

มิลินทปัญหา ๑๙.วิจารวรรคที่ ๓ (ปัญหาที่ ๔) สังขารชายนปัญหา ปัญหาเกี่ยวกับสังขารที่กำลังเกิด

๔. สงฺขารชายมานปญฺโห
. ราชา อาห ‘‘ภนฺเต นาคเสน, อตฺถิ เกจิ สงฺขารา, เย ชายนฺตี’’ติ? ‘‘อาม, มหาราช, อตฺถิ สงฺขารา, เย ชายนฺตี’’ติฯ ‘‘กตเม เต, ภนฺเต’’ติ? ‘‘จกฺขุสฺมิญฺจ โข, มหาราช, สติ รูเปสุ จ จกฺขุวิญฺญาณํ โหติ, จกฺขุวิญฺญาเณ สติ จกฺขุสมฺผสฺโส โหติ, จกฺขุสมฺผสฺเส สติ เวทนา โหติ, เวทนาย สติ ตณฺหา โหติ, ตณฺหาย สติ อุปาทานํ โหติ, อุปาทาเน สติ ภโว โหติ, ภเว สติ ชาติ โหติ, ชาติยา สติ ชรามรณํ โสกปริเทวทุกฺขโทมนสฺสุปายาสา สมฺภวนฺติ, เอวเมตสฺส เกวลสฺส ทุกฺขกฺขนฺธสฺส สมุทโย โหติฯ จกฺขุสฺมิญฺจ โข, มหาราช, อสติ รูเปสุ จ อสติ จกฺขุวิญฺญาณํ น โหติ, จกฺขุวิญฺญาเณ อสติ จกฺขุสมฺผสฺโส น โหติ, จกฺขุสมฺผสฺเส อสติ เวทนา น โหติ, เวทนาย อสติ ตณฺหา น โหติ, ตณฺหาย อสติ อุปาทานํ น โหติ, อุปาทาเน อสติ ภโว น โหติ, ภเว อสติ ชาติ น โหติ, ชาติยา อสติ ชรามรณํ โสกปริเทวทุกฺขโทมนสฺสุปายาสา น โหนฺติ, เอวเมตสฺส เกวลสฺส ทุกฺขกฺขนฺธสฺส นิโรโธ โหตี’’ติฯ
‘‘กลฺโลสิ, ภนฺเต นาคเสนา’’ติฯ
สงฺขารชายมานปญฺโห จตุตฺโถฯ

*******************


๔. สงฺขารชายมานปญฺโห
๔. ปัญหาเกี่ยวกับสังขารที่กำลังเกิด
๔. ราชา พระเจ้ามิลินท์ อาห ตรัสถามว่า ภนฺเต นาคเสน พระคุณเจ้านาคเสน  เย เกจิ[๑] สงฺขารา สังขารเหล่าใดเหล่าหนึ่ง ชายนฺติ  ย่อมเกิดขึ้น, (เต) สงฺขารา สังขารท.เหล่านั้น อตฺถิ มีอยู่ นุ โข หรือ? [๒]อิติ ดังนี้.
เถโร พระนาคเสนเถระ อาห ทูลแล้วว่า มหาราช ขอถวายพระพรมหาบพิตร อาม ถูกแล้ว เย เกจิ สงฺขารา สังขารท. เหล่าใดเหล่าหนึ่ง ชายนฺติ ย่อมเกิดขึ้น, เต สงฺขารา สังขารท.เหล่านั้น อตฺถิ มีอยู่ อิติ ดังนี้.
ราชา พระเจ้ามิลินท์ อาห ตรัสถามว่า เต สงฺขารา สังขารท.เหล่านั้น กตเม เหล่าไหนกัน ภนฺเต พระคุณเจ้า? อิติ ดังนี้.
เถโร พระนาคเสนเถระ อาห ทูลแล้วว่า มหาราช ขอถวายพระพรมหาบพิตร จกฺขุสฺมิํ จ  โข เมื่อจักษุ, รูเปสุ จ และเมื่อรูปท.  สติ มี, จกฺขุวิญฺญาณํ จักษุวิญญาณ โหติ ย่อมมี, จกฺขุวิญฺญาเณ เมื่อจักษุวิญญาณ สติ มี จกฺขุสมฺผสฺโส จักขุสัมผัสสะ โหติ ย่อมมี. จกฺขุสมฺผสฺเส เมื่อจักขุสัมผัสสะ สติ มี เวทนา เวทนา โหติ ย่อมมี, เวทนาย เมื่อเวทนา สติ มี ตณฺหา ตัณหา โหติ ย่อมมี, ตณฺหาย เมื่อตัณหา สติ มี อุปาทานํ อุปาทาน โหติ ย่อมมี, อุปาทาเน เมื่ออุปาทาน สติ มี ภโว ภพ โหติ ย่อมมี, ภเว เมื่อภพ สติ มี ชาติ ชาติ โหติ ย่อมมี, ชาติยา เมื่อชาติ สติ มี ชรามรณํ โสกปริเทวทุกฺขโทมนสฺสุปายาสา ชรา มรณะ โสกะ ปริเทวะ ทุกข์ โทมนัส อุปายาส สมฺภวนฺติ ย่อมมี, สมุทโย ความเกิดขึ้น ทุกฺขกฺขนฺธสฺส แห่งกองทุกข์ เกวลสฺส ทั้งมวล เอตสฺส นี้ โหติ ย่อมมี เอวํ อย่างนี้.
มหาราช ขอถวายพระพรมหาบพิตร จกฺขุสฺมิํ จ  โข เมื่อจักษุ, รูเปสุ จ และเมื่อรูปท.  อสติ ไม่มี, จกฺขุวิญฺญาณํ จักษุวิญญาณ น โหติ ย่อมไม่มี, จกฺขุวิญฺญาเณ เมื่อจักษุวิญญาณ อสติ ไม่มี จกฺขุสมฺผสฺโส จักขุสัมผัสสะ น โหติ ย่อมไม่มี. จกฺขุสมฺผสฺเส เมื่อจักขุสัมผัสสะ อสติ ไม่มี เวทนา เวทนา น โหติ ย่อมไม่มี, เวทนาย เมื่อเวทนา อสติ ไม่มี ตณฺหา ตัณหา น โหติ ย่อมไม่มี, ตณฺหาย เมื่อตัณหา อสติ ไม่มี อุปาทานํ อุปาทาน น โหติ ย่อมไม่มี, อุปาทาเน เมื่ออุปาทาน อสติ ไม่มี ภโว ภพ น โหติ ย่อมไม่มี, ภเว เมื่อภพ อสติ ไม่มี ชาติ ชาติ น โหติ ย่อมไม่มี, ชาติยา เมื่อชาติ อสติ ไม่มี ชรามรณํ โสกปริเทวทุกฺขโทมนสฺสุปายาสา ชรา มรณะ โสกะ ปริเทวะ ทุกข์ โทมนัส อุปายาส น โหนฺติ ย่อมไม่มี, นิโรโธ ความดับไป ทุกฺขกฺขนฺธสฺส แห่งกองทุกข์ เกวลสฺส ทั้งมวล เอตสฺส นี้ โหติ ย่อมมี เอวํ อย่างนี้.[๓]
ราชา พระเจ้ามิลินท์ อโวจ ได้ตรัสแล้วว่า ภนฺเต นาคเสน พระคุณเจ้านาคเสน ตฺวํ ท่าน กลฺโล เป็นผู้ฉลาด อสิ ย่อมเป็น อิติ ดังนี้.
สงฺขารชายมานปญฺโห  ปัญหาว่าด้วยสังขารที่เกิด
จตุตฺโถ ที่ ๔ นิฏฺฐิโต จบแล้ว







[๑] อรรถกถาเป็น อตฺถิ เย เกจิ สงฺขารา ในที่นี้แปลตามปาฐะที่มาในอรรถกถา.
[๒] อีกนัยหนึ่ง เย เกจิ มีอรรถ สพฺเพ (กิํ ที่มี ย และจิ มีอรรถของสพฺพศัพท์, ที่มีแต่ จิ มีอรรถว่า เล็กน้อย แปลว่า บางสิ่ง, ที่มีแต่ กิํ เป็นคำถาม) เย สงฺขารา ชายนฺติ สังขารท.เหล่าใดย่อมเกิดขึ้น เย เกจิ = สพฺเพ สงฺขารา สังขารท.เหล่านั้นทั้งปวง อตฺถิ มีอยู่หรือ. แต่อรรถกถามิลินท์แนะให้แปลว่า เย สพฺเพ สงฺขารา อตฺถิ สังขารท.ทั้งปวง เหล่าใด มีอยู่, เตสุ สพฺเพสุ สงฺขาเรสุ สติ เมื่อสังขารท.เหล่านั้นทั้งปวง มีอยู่, เย สพฺเพ สงฺขารา ชายนฺติ, ชายนฺติ นุ โข สังขารท.ทั้งปวง ย่อมเกิด หรือไม่เกิด.
คำว่า สังขารเหล่าใดเหล่าหนึ่ง ได้แก่ สังขาร (สิ่งที่ปัจจัยทำให้เกิดขึ้น) ทั้งปวงที่ได้ถือเอาด้วยศัพท์ว่า สังขาร ในหลักฐานที่มาว่า “สังขารทั้งหลายทั้งปวงไม่เที่ยง, สังขารทั้งหลายทั้งปวงเป็นทุกข์” ดังนี้ มิได้หมายเฉพาะสังขารที่มีอวิชชาเป็นปัจจัย.  เป็นอันตรัสถามว่า “เมื่อสังขารเหล่าใดเหล่าหนึ่งมีอยู่, สังเขารนั้นทั้งปวง ย่อมเกิดขึ้นหรือ ไม่เกิด”.หมายความว่า พระเจ้ามิลินท์ถามถึงสังขารที่เป็นปัจจัย ด้วยคำว่า อตฺถิ เย เกจิ สงฺขารา สังขารที่มีอยู่ และ ถามถึงสังขารที่เป็นปัจจยุปปัน ด้วยคำว่า เย เกจิ ชายนฺติ สังขารที่เกิดขึ้น เมื่อสังขารเหล่านั้นมี จะมีสังขารเหล่าใดเหล่าหนึ่ง มี หรือ ไม่มี.
[๓] ด้วยคำวิสัชนานี้ เป็นอันพระเจ้ามิลินท์ถามสองปัญหา โดยปัญหานี้แฝงอยู่ในปัญหาแรก กล่าวคือ นอกจากจะถามถึงสังขารที่เกิดขึ้น เพราะสังขารอันมีอยู่แล้ว ยังถามถึงสังขารที่ไม่เกิดขึ้น เพราะสังขารอันไม่มีอีกด้วย.

ไม่มีความคิดเห็น:

แสดงความคิดเห็น