๑๐. วณฺณภณนปญฺโห
๑๐. วัณณภณนปัญหา
ปัญาว่าด้วยการกล่าวคำสรรเสริญ
*****
๑๐. ‘‘ภนฺเต
นาคเสน, ภาสิตมฺเปตํ ภควตา ‘มมํ วา, ภิกฺขเว, ปเร วณฺณํ
ภาเสยฺยุํ, ธมฺมสฺส วา, สงฺฆสฺส วา
วณฺณํ ภาเสยฺยุํ, ตตฺร ตุมฺเหหิ น อานนฺโท, น โสมนสฺสํ, น เจตโส
อุปฺปิลาวิตตฺตํ กรณีย’นฺติ, ปุน จ ตถาคโต เสลสฺส
พฺราหฺมณสฺส ยถาภุจฺเจ วณฺเณ ภญฺญมาเน อานนฺทิโต สุมโน อุปฺปิลาวิโต ภิยฺโย
อุตฺตริํ สกคุณํ ปกิตฺเตสิ –
‘‘‘ราชาหมสฺมิ
เสลาติ, ธมฺมราชา อนุตฺตโร;
ธมฺเมน จกฺกํ
วตฺเตมิ,
จกฺกํ อปฺปฏิวตฺติย’นฺติ [ม. นิ. ๒.๓๙๙]ฯ
๑๐.มิลินฺโท ราชา พระเจ้ามิลินท์
อาห ตรัสถามแล้ว อิติ ว่า ภนฺเต นาคเสน ข้าแต่พระนาคเสน
ผู้เจริญ, เอตํ วจนํ ข้อความนี้ อิติ ว่า ภิกฺขเว ภิกษุทั้งหลาย
ปเร ชนา ชนทั้งหลายเหล่าอื่น ภาเสยฺยุํ พึงกล่าว วณฺณํ
สรรเสริญ มมํ ซึ่งเรา วา ก็ตาม, ภาเสยฺยุํ พึงกล่าว วณฺณํ
สรรเสริญ ธมฺมสฺส ซึ่งพระธรรม วา ก็ตาม, ภาเสยฺยุํ พึงกล่าว วณฺณํ
สรรเสริญ สงฺฆสฺส ซึ่งพระสงฆ์ วา ก็ตาม, ตตฺร วณฺณิเตสุ
ในคำที่กล่าวสรรเสริญนั้น อานนฺโท ความชื่นชม ตุมฺเหหิ พวกเธอ น
กรณียํ ไม่พึงกระทำ, โสมนสฺสํ ความยินดี ตุมฺเหหิ พวกเธอ น
กรณียํ ไม่พึงกระทำ, เจตโส อุปฺปิลาวิตตฺตํ ความปลาบปลื้มใจ
(เป็นชื่อของปีติที่ทำให้ใจลอยสูง) ตุมฺเหหิ พวกเธอ น กรณียํ
ไม่พึงกระทำ ดังนี้ ดังนี้ ภควตา อันพระผู้มีพระภาค ภาสิตมฺปิ
ก็ทรงภาษิตไว้แล้ว, จ ก็ ตถาคโต พระตถาคต ยถาภุจฺเจ
เมื่อ(คุณ)ตามที่เป็นจริง เสลสฺส
พฺราหฺมณสฺส อันพราหมณ์เสละ วณฺเณ ภญฺญมาเน
กล่าวยกย่องอยู่ อานนฺทิโต ทรงชื่นชม สุมโน มีพระทัยยินดี อุปฺปิลาวิโต
ปลาบปลื้ม ปกิตฺเตสิ จึงทรงประกาศ สกคุณํ ซึ่งคุณของพระองค์ อุตฺตริํ
มากขึ้น ภิยฺโย ยิ่งขึ้น อิติ ว่า เสล ดูก่อนเสลพราหมณ์ อหํ
เรา ราชา เป็นพระราชา อมฺหิ ย่อมเป็น อิติ = เอวํ
อย่างนี้ ธมฺมราชา เป็นธรรมราชา อนุตฺตโร ผู้ยอดเยี่ยม จกฺกํ
ยังล้อ[1] (ยํ) จกฺกํ
อันเป็นล้อ อปฺปฏิวตฺติยํ อันใครๆให้หมุนกลับมิได้ วตฺเตมิ ย่อมให้เป็นไป ธมฺเมน ด้วยธรรม ดังนี้
[๑๐] พระเจ้ามิลินท์
“พระคุณเจ้านาคเสน พระผู้มีพระภาคทรงภาษิตความข้อนี้ไว้ว่า มมํ
วา ภิกฺขเว ปเร วณฺณํ ภาเสยฺยุํ, ธมฺมสฺส วา วณฺณํ ภาเสยฺยุํ,
สงฺฆสฺส วา วณฺณํ ภาเสยฺยุํ ตตฺร ตุมฺเหหิ น อานนฺโท น โสมนสฺสํ น
เจตโส อุพฺพิลาวิตตฺตํ กรณียนฺ[2]ติ
ภิกษุทั้งหลาย
ถึงคนพวกอื่นจะพึงกล่าวยกย่องเรา กล่าวยกย่องพระธรรม หรือกล่าวยกย่องพระสงฆ์ก็ตาม
พวกเธอไม่ควรทำความรื่นเริงดีใจ หรือความปลาบปลื้มใจในคำที่เขากล่าวสรรเสริญนั้น
ดังนี้ และเมื่อเสลพราหมณ์กล่าวสรรเสริญธรรมตามความเป็นจริงอยู่
พระตถาคตก็ทรงเป็นผู้เพลิดเพลิน ดีพระทัย ปลาบปลื้มพระทัย ประกาศคุณของพระองค์เองให้ดียิ่งขึ้นไป
อีกว่า
ราชาหมสมิ เสลาติ ธมมราชา อนุตตโร
ธมเมน จกกํ วตเตติ จกกํ อปปฏิวตติยํ[3]
เสลพราหมณ์ เราเป็นพระราชาอยู่แล้วคือ เป็นพระธรรมราชาผู้ยอดเยี่ยมยังธรรมจักรที่ไม่มีใคร ๆ หมุนไปได้ ให้หมุนไปได้
‘‘ยทิ,
ภนฺเต นาคเสน, ภควตา ภณิตํ ‘มมํ วา, ภิกฺขเว, ปเร วณฺณํ
ภาเสยฺยุํ, ธมฺมสฺส วา สงฺฆสฺส วา วณฺณํ ภาเสยฺยุํ, ตตฺร ตุมฺเหหิ น อานนฺโท, น โสมนสฺสํ, น เจตโส อุปฺปิลาวิตตฺตํ กรณีย’นฺติ, เตน หิ เสลสฺส พฺราหฺมณสฺส ยถาภุจฺเจ วณฺเณ ภญฺญมาเน อานนฺทิโต สุมโน
อุปฺปิลาวิโต ภิยฺโย อุตฺตริํ สกคุณํ ปกิตฺเตสีติ ยํ วจนํ, ตํ
มิจฺฉาฯ
ภนฺเต นาคเสน ข้าแต่พระนาคเสนผู้เจริญ
ยทิ ถ้าว่า เอตํ วจนํ พระดำรัสนี้ อิติ ว่า ภิกฺขเว ภิกษุทั้งหลาย
ปเร ชนา ชนทั้งหลายเหล่าอื่น ภาเสยฺยุํ พึงกล่าว วณฺณํ
สรรเสริญ มมํ ซึ่งเรา วา ก็ตาม, ภาเสยฺยุํ พึงกล่าว วณฺณํ
สรรเสริญ ธมฺมสฺส ซึ่งพระธรรม วา ก็ตาม, ภาเสยฺยุํ
พึงกล่าว วณฺณํ สรรเสริญ สงฺฆสฺส ซึ่งพระสงฆ์ วา ก็ตาม, ตตฺร วณฺณิเตสุ ในคำที่กล่าวสรรเสริญนั้น อานนฺโท
ความชื่นชม ตุมฺเหหิ พวกเธอ น กรณียํ ไม่พึงกระทำ, โสมนสฺสํ ความยินดี ตุมฺเหหิ พวกเธอ น กรณียํ
ไม่พึงกระทำ, เจตโส อุปฺปิลาวิตตฺตํ ความปลาบปลื้มใจตุมฺเหหิ
พวกเธอ น กรณียํ ไม่พึงกระทำ ดังนี้ ดังนี้ ภควตา อันพระผู้มีพระภาค
ภณิตํ ได้ทรงภาษิตไว้จริง, เตนหิ ถ้าอย่างนั้น ยํ วจนํ คำใด อิติ
ว่า ยถาภุจฺเจ เมื่อ(คุณ)ตามที่เป็นจริง
เสลสฺส พฺราหฺมณสฺส อันพราหมณ์เสละ
วณฺเณ ภญฺญมาเน กล่าวยกย่องอยู่ อานนฺทิโต ทรงชื่นชม สุมโน
มีพระทัยยินดี อุปฺปิลาวิโต ปลาบปลื้ม ปกิตฺเตสิ จึงทรงประกาศ สกคุณํ
ซึ่งคุณของพระองค์ อุตฺตริํ มากขึ้น ภิยฺโย ยิ่งขึ้น ดังนี้, ตํ
วจนํ มิจฺฉา เป็นอันผิดไป
พระคุณเจ้านาคเสน ถ้าหากพระผู้มีพระภาคตรัสไว้ว่า ภิกษุทั้งหลาย คนอื่น ๆ พึงกล่าวสรรเสริญเราบ้าง พึงกล่าวสรรเสริญพระธรรมบ้าง พึงกล่าวสรรเสริญพระสงฆ์บ้าง พวกเธอไม่ควรทำความรื่นเริงดีใจ หรือความปลาบปลื้มใจ ในคำที่เขากล่าวสรรเสริญนั้น ดังนี้ จริงไซร้ ถ้าอย่างนั้น คำที่ว่า เมื่อพระเสลพราหมร์กล่าวสรรเสริญตามความเป็นจริงอยู่ พระตถาคตก็ทรงเป็นผู้เพลิดเพลิน ดีพระทัย ปลาบปลื้มพระทัย ประกาศคุณของพระองค์เอง ให้ยิ่งขึ้นไป ดังนี้ ก็ไม่ถูกต้อง
ยทิ เสลสฺส
พฺราหฺมณสฺส ยถาภุจฺเจ วณฺเณ ภญฺญมาเน อานนฺทิโต สุมโน อุปฺปิลาวิโต ภิยฺโย
อุตฺตริํ สกคุณํ ปกิตฺเตสิ,
เตน หิ ‘มมํ วา, ภิกฺขเว,
ปเร วณฺณํ ภาเสยฺยุํ, ธมฺมสฺส วา สงฺฆสฺส วา
วณฺณํ ภาเสยฺยุํ, ตตฺร ตุมฺเหหิ น อานนฺโท, น โสมนสฺสํ, น เจตโส อุปฺปิลาวิตตฺตํ กรณีย’นฺติ ตมฺปิ วจนํ มิจฺฉาฯ อยมฺปิ อุภโต โกฏิโก ปญฺโห ตวานุปฺปตฺโต, โส ตยา นิพฺพาหิตพฺโพ’’ติฯ
ยทิ ถ้าหากว่า
ยถาภุจฺเจ เมื่อ(คุณ)ตามที่เป็นจริง
เสลสฺส พฺราหฺมณสฺส อันพราหมณ์เสละ
วณฺเณ ภญฺญมาเน กล่าวยกย่องอยู่ อานนฺทิโต ทรงชื่นชม สุมโน
มีพระทัยยินดี อุปฺปิลาวิโต ปลาบปลื้ม ปกิตฺเตสิ จึงทรงประกาศ สกคุณํ
ซึ่งคุณของพระองค์ อุตฺตริํ มากขึ้น ภิยฺโย ยิ่งขึ้น (จริงไซร้)
เตนหิ ถ้าอย่างนั้น ตมฺปิ วจนํ คำแม้นั้น อิติ ว่า ภิกฺขเว
ภิกษุทั้งหลาย ปเร ชนา ชนทั้งหลายเหล่าอื่น ภาเสยฺยุํ พึงกล่าว
วณฺณํ สรรเสริญ มมํ ซึ่งเรา วา ก็ตาม, ภาเสยฺยุํ
พึงกล่าว วณฺณํ สรรเสริญ ธมฺมสฺส ซึ่งพระธรรม วา ก็ตาม, ภาเสยฺยุํ พึงกล่าว วณฺณํ สรรเสริญ สงฺฆสฺส ซึ่งพระสงฆ์
วา ก็ตาม, ตตฺร วณฺณิเตสุ
ในคำที่กล่าวสรรเสริญนั้น อานนฺโท ความชื่นชม ตุมฺเหหิ พวกเธอ น
กรณียํ ไม่พึงกระทำ, โสมนสฺสํ ความยินดี ตุมฺเหหิ
พวกเธอ น กรณียํ ไม่พึงกระทำ, เจตโส
อุปฺปิลาวิตตฺตํ ความปลาบปลื้มใจ ตุมฺเหหิ พวกเธอ น กรณียํ
ไม่พึงกระทำ ดังนี้ ดังนี้ มิจฺฉา เป็นอันผิดไป. อยมฺปิ ปญฺโห
ปัญหาแม้นี้ โกฏิโก มีที่สุด อุภโต โดยส่วนสอง อนุปฺปตฺโต มาถึงแล้ว
ตว แก่ท่าน, โส ปญฺโห ปัญหานั้น ตยา อันท่าน นิพฺพาหิตพฺโพ
= กเถตพฺโพ พึงแถลงเถิด
ดังนี้.
ถ้าหากว่า เมื่อเสลพราหมณ์กล่าวสรรเสริญตามความเป็นจริงอยู่ พระตถาคตก็ทรงเป็นผู้เพลิดเพลิน ดีพระทัย ปลาบปลื้มพระทัย ประกาศคุณของพระองค์เอง ให้ยิ่งขึ้นไป จริงไซร้ ถ้าอย่างนั้น คำที่ว่า ภิกษุทั้งหลาย คนอื่น ๆ พึงกล่าวสรรเสริญเราบ้าง พึงกล่าวสรรเสริญพระธรรมบ้าง พึงกล่าวสรรเสริญพระสงฆ์บ้าง พวกเธอไม่ควรทำความรื่นเริง ดีใจ หรือความปลาบปลื้มใจ ในคำกล่าวสรรเสริญนั้น ดังนี้ ก็ย่อมไม่ถูกต้อง ปัญหาแม้นี้มี ๒ เงื่อน ตกถึงแก่ท่านแล้ว ขอท่านพึงคลี่คลายปัญหานั้น
‘‘ภาสิตมฺเปตํ, มหาราช, ภควตา ‘มมํ วา, ภิกฺขเว, ปเร วณฺณํ
ภาเสยฺยุํ, ธมฺมสฺส วา สงฺฆสฺส วา วณฺณํ ภาเสยฺยุํ, ตตฺร ตุมฺเหหิ น อานนฺโท, น โสมนสฺสํ, น เจตโส อุปฺปิลาวิตตฺตํ กรณีย’นฺติฯ เสลสฺส จ
พฺราหฺมณสฺส ยถาภุจฺเจ วณฺเณ ภญฺญมาเน ภิยฺโย อุตฺตริํ สกคุณํ ปกิตฺติตํ –
‘‘‘ราชาหมสฺมิ เสลาติ, ธมฺมราชา อนุตฺตโร;
ธมฺเมน
จกฺกํ วตฺเตมิ,
จกฺกํ อปฺปฏิวตฺติย’นฺติฯ
นาคเสนตฺเถโร
พระนาคเสนเถระ อาห ทูลแล้ว อิติ ว่า มหาราช มหาบพิตร เอตํ วจนํ ข้อความนี้ อิติ
ว่า
ภิกฺขเว ภิกษุทั้งหลาย ปเร ชนา ชนทั้งหลายเหล่าอื่น ภาเสยฺยุํ
พึงกล่าว วณฺณํ สรรเสริญ มมํ ซึ่งเรา วา ก็ตาม, ภาเสยฺยุํ
พึงกล่าว วณฺณํ สรรเสริญ ธมฺมสฺส ซึ่งพระธรรม วา ก็ตาม, ภาเสยฺยุํ
พึงกล่าว วณฺณํ สรรเสริญ สงฺฆสฺส ซึ่งพระสงฆ์ วา ก็ตาม, ตตฺร
วณฺณิเตสุ ในคำที่กล่าวสรรเสริญนั้น อานนฺโท ความชื่นชม ตุมฺเหหิ
พวกเธอ น กรณียํ ไม่พึงกระทำ, โสมนสฺสํ ความยินดี ตุมฺเหหิ
พวกเธอ น กรณียํ ไม่พึงกระทำ, เจตโส อุปฺปิลาวิตตฺตํ ความปลาบปลื้มใจ
ตุมฺเหหิ พวกเธอ น กรณียํ ไม่พึงกระทำ ดังนี้ ภควตา
อันพระผู้มีพระภาค ภาสิตมฺปิ ก็ทรงภาษิตไว้แล้ว (จริง),จ ก็ ตถาคโต
พระตถาคต ยถาภุจฺเจ เมื่อ(คุณ)ตามที่เป็นจริง เสลสฺส พฺราหฺมณสฺส อันพราหมณ์เสละ วณฺเณ ภญฺญมาเน กล่าวยกย่องอยู่ อานนฺทิโต
ทรงชื่นชม สุมโน มีพระทัยยินดี อุปฺปิลาวิโต ปลาบปลื้ม ปกิตฺเตสิ
จึงทรงประกาศ สกคุณํ ซึ่งคุณของพระองค์ อุตฺตริํ มากขึ้น ภิยฺโย
ยิ่งขึ้น อิติ ว่า เสล ดูก่อนเสลพราหมณ์ อหํ เรา ราชา
เป็นพระราชา อมฺหิ ย่อมเป็น อิติ = เอวํ
อย่างนี้ ธมฺมราชา เป็นธรรมราชา อนุตฺตโร ผู้ยอดเยี่ยม จกฺกํ
ยังล้อ (ยํ) จกฺกํ อันเป็นล้อ อปฺปฏิวตฺติยํ
อันใครๆให้หมุนกลับมิได้ วตฺเตมิ ย่อมให้เป็นไป ธมฺเมน ด้วยธรรม ดังนี้ ก็เป็นจริง
พระนาคเสน “ขอถวายพระพรมหาบพิตร
พระผู้มีพระภาคทรงภาษิตความข้อนี้ไว้ว่า ภิกษุทั้งหลาย คนอื่น ๆ พึงกล่าวสรรเสริญเราบ้าง
ฯลฯ ไม่ควรทำความปลาบปลื้มใจ ในคำที่เขากล่าวสรรเสริญนั้น ดังนี้ จริง
และเมื่อเสลพราหมณ์กล่าวสรรเสริญตามความเป็นจริงอยู่ พระตถาคต
ทรงเป็นผู้เพลิดเพลิน ฯลฯ ปรารภคุณของตนให้ยิ่งขึ้นไปว่า
ท่านเสลพราหมณ์ เราเป็นพระราชาอยู่แล้วคือ เป็นพระธรรมราชา ผู้ยอดเยี่ยม ยังพระธรรมจักรที่ไม่มีใคร ๆ หมุนไปได้ ให้หมุนไปได้
‘‘ปฐมํ,
มหาราช, ภควตา ธมฺมสฺส สภาวสรสลกฺขณํ สภาวํ
อวิตถํ ภูตํ ตจฺฉํ ตถตฺถํ ปริทีปยมาเนน ภณิตํ ‘มมํ วา
ภิกฺขเว, ปเร วณฺณํ ภาเสยฺยุํ, ธมฺมสฺส วา สงฺฆสฺส วา วณฺณํ ภาเสยฺยุํ, ตตฺร
ตุมฺเหหิ น อานนฺโท, น โสมนสฺสํ, น
เจตโส อุปฺปิลาวิตตฺตํ กรณีย’นฺติฯ ยํ ปน ภควตา เสลสฺส
พฺราหฺมณสฺส ยถาภุจฺเจ วณฺเณ ภญฺญมาเน ภิยฺโย อุตฺตริํ สกคุณํ ปกิตฺติตํ ‘ราชาหมสฺมิ เสลาติ, ธมฺมราชา อนุตฺตโร’ติ ตํ น ลาภเหตุ, น ยสเหตุ, น
อตฺตเหตุ, น ปกฺขเหตุ, น
อนฺเตวาสิกมฺยตาย, อถ โข อนุกมฺปาย การุญฺเญน หิตวเสน เอวํ อิมสฺส ธมฺมาภิสมโย ภวิสฺสติ ติณฺณญฺจ
มาณวกสตานนฺติ, เอวํ ภิยฺโย อุตฺตริํ สกคุณํ ภณิตํ ‘ราชาหมสฺมิ เสลาติ, ธมฺมราชา อนุตฺตโร’ติฯ
มหาราช มหาบพิตร เอตํ
วจนํ พระดำรัสนี้ อิติ ว่า ภิกฺขเว ภิกษุทั้งหลาย ปเร ชนา
ชนทั้งหลายเหล่าอื่น ภาเสยฺยุํ พึงกล่าว วณฺณํ สรรเสริญ มมํ
ซึ่งเรา วา ก็ตาม, ภาเสยฺยุํ พึงกล่าว วณฺณํ สรรเสริญ ธมฺมสฺส
ซึ่งพระธรรม วา ก็ตาม, ภาเสยฺยุํ พึงกล่าว วณฺณํ
สรรเสริญ สงฺฆสฺส ซึ่งพระสงฆ์ วา ก็ตาม, ตตฺร
วณฺณิเตสุ ในคำที่กล่าวสรรเสริญนั้น อานนฺโท ความชื่นชม ตุมฺเหหิ
พวกเธอ น กรณียํ ไม่พึงกระทำ, โสมนสฺสํ
ความยินดี ตุมฺเหหิ พวกเธอ น กรณียํ ไม่พึงกระทำ, เจตโส อุปฺปิลาวิตตฺตํ ความปลาบปลื้มใจ ตุมฺเหหิ พวกเธอ น
กรณียํ ไม่พึงกระทำ ดังนี้ ภควตา อันพระผู้มีพระภาค ปริทีปยมาเนน
เมื่อทรงแสดง สภาวรสลกฺขณํ ซึ่งลักษณะพร้อมทั้งอรรถรสตามที่มีอยู่ สภาวํ
ซึ่งสภาวธรรม อวิตถํ อันไม่คลาดเคลื่อน ภูตํ อันมีอยู่ ตจฺฉํ อันจริงแท้
ตถตฺถํ มีเนื้อความเป็นของแท้ ธมฺมสฺส แห่งธรรม ปฐมํ
ไว้ก่อน. ปน ก็ ยถาภุจฺเจ เมื่อคุณตามที่มีอยู่จริง เสลสฺส พฺราหฺมณสฺส
อันพราหมณ์เสละ วณฺเณ ภญฺญมาเน
กล่าวยกย่องอยู่ ยํ สกคุณํ คุณของพระองค์ใด ภควตา อันพระผู้มีพระภาค
ปกิตฺตํ ทรงแสดงไว้ อุตฺตรํ ให้ยิ่ง ภิยฺโย มากขึ้นไป อิติ
ว่า เสล ดูก่อนเสลพราหมณ์ อหํ เรา ราชา เป็นพระราชา อมฺหิ
ย่อมเป็น อิติ = เอวํ อย่างนี้ ธมฺมราชา
เป็นธรรมราชา อนุตฺตโร ผู้ยอดเยี่ยม จกฺกํ ยังล้อ (ยํ) จกฺกํ
อันเป็นล้อ อปฺปฏิวตฺติยํ อันใครๆให้หมุนกลับมิได้ วตฺเตมิ ย่อมให้เป็นไป ธมฺเมน ด้วยธรรม ดังนี้, ตํ สกคุณํ
พระคุณนั้น ภควตา อันพระผุ้มีพระภาค ปกิตฺติตํ ทรงแสดงไว้ น
ลาภเหตุ เพราะเหตุแห่งลาภ หามิได้, น ยสเหตุ เพราะเหตุแห่งยศ หามิได้, น
อตฺตเหตุ เพราะเหตุแห่งตน หามิได้, น ปกฺขเหตุ เพราะเหตุแห่งพวกพ้อง หามิได้, น
อนฺเตวาสิกมฺยตาย เพราะความเป็นผู้ต้องการศิษย์หามิได้, อถ โข
ที่แท้แล้ว ตํ สกคุณํ คุณของพระองค์นั้น อิติ ว่า เสล ดูก่อนเสลพราหมณ์
อหํ เรา ราชา เป็นพระราชา อมฺหิ ย่อมเป็น อิติ = เอวํ อย่างนี้ ธมฺมราชา เป็นธรรมราชา อนุตฺตโร ผู้ยอดเยี่ยม
จกฺกํ ยังล้อ (ยํ) จกฺกํ อันเป็นล้อ อปฺปฏิวตฺติยํ
อันใครๆให้หมุนกลับมิได้ วตฺเตมิ ย่อมให้เป็นไป ธมฺเมน ด้วยธรรม ดังนี้ ภควตา
อันพระผู้มีพระภาค ปกิตฺติตํ ทรงแสดงแล้ว อุตฺตริํ ให้มาก ภิยฺโย
ยิ่งขึ้น จิตฺเตน ด้วยพระดำริ เอวํ
อย่างนี้ อิติ ว่า ธมฺมาภิสมโย การตรัสรู้ธรรม อิมสฺส แห่งพราหมณ์นี้
จ ด้วย, มาณวกสตานํ แห่งร้อยแห่งมาณพทั้งหลาย ติณฺณํ ๓ จ
ด้วย ภวิสฺสติ จักมี เอวํ อย่างนี้
ดังนี้ หิตวเสน โดยความเป็นผลประโยชน์เกื้อกูล การุญเญน
ด้วยความกรุณา อนุกมฺปกาย เพื่ออนุเคราะห์ ดังนี้.
ขอถวายพระพร พระผู้มีพระภาค เมื่อจะทรงแสดงสภาวะที่มีลักษณะพร้อมทั้งรสตามความเป็นจริง ที่ไม่คลาดเคลื่อน ที่เป็นจริง ที่แท้ ที่มีความเป็นของแท้แห่งพระธรรม จึงตรัสไว้ก่อนว่า ภิกษุทั้งหลาย พวกคนอื่น ๆ พึงกล่าวสรรเสริญเราบ้าง พึงกล่าวสรรเสริญพระธรรมบ้าง พึงกล่าวสรรเสริญพระสงฆ์บ้าง พวกเธอไม่ควรทำความรื่นเริง ดีใจ หรือความปลาบปลื้มใจ ในคำกล่าวสรรเสริญนั้น ดังนี้ ส่วนข้อที่ว่า เมื่อเสลพราหมณ์กล่าวสรรเสริญตามความเป็นจริงอยู่ พระผู้มีพระภาคก็ทรงประกาศพระคุณของพระองค์เองให้ยิ่งขึ้นไปว่า ท่านเสลพราหมณ์ เราเป็นพระราชาอยู่แล้ว คือ เป็นพระธรรมราชา ดังนี้เป็นต้น ใด ข้อนั้นทรงประกาศไว้ หาใช่เพราะเหตุแห่งลาภไม่ หาใช่เพราะเหตุแห่งยศไม่ หาใช่เพราะเหตุแห่งตนไม่ หาใช่เหตุแห่งพวกพ้องไม่ หาใช่เพราะความอยากได้ศิษย์ไม่ ทว่า ทรงประกาศเพื่อจะอนุเคราะห์ประโยชน์เกื้อกูล ด้วยพระมหากรุณา คำว่า พราหมณ์ผู้นี้และมาณพอีก ๓๐๐ คน จักมีการบรรลุธรรมได้ โดยประการอย่างนี้ ดังนี้ แล้วจึงตรัสถึงพระคุณของพระองค์เอง ให้ยิ่งขึ้นไป อย่างนี้ว่า เสลพราหมณ์ เราเป็นพระราชาอยู่แล้ว คือ เป็นธรรมราชาผู้ยอดเยี่ยม ดังนี้เป็นต้น
‘‘สาธุ, ภนฺเต นาคเสน, เอวเมตํ
ตถา สมฺปฏิจฺฉามี’’ติฯ
มิลินฺโท ราชา พระเจ้ามิลินท์ อาห ตรัสถามแล้ว อิติ ว่า ภนฺเต
นาคเสน ข้าแต่พระนาคเสนผู้เจริญ เอวํ = สพฺพํ วจนํ เอวํ สภาวโต โหติ คำอธิบายทั้งปวง โหติ ย่อมมี สภาวโต ตามความเป็นจริง
เอวํ อย่างนี้, เอตํ = สพฺพํ เหฏฺฐาวจนํ ตยา วุตฺตํ ยถา โหติ,
ตํ สมฺปฏิจฺฉาม, สพฺพํ เหฏฺฐาวจนํ ถ้อยคำข้างต้นทั้งปวง
ตยา อันท่าน วุตฺตํ กล่าวแล้ว โหติ ย่อมมี ยถา
โดยประการใด, อหํ ข้าพเจ้า สมฺปฏิจฺฉามิ ขอน้อมรับไว้ ตํ วจนํ ซึ่งคำนั้น
ตถา ด้วยประการนั้น ดังนี้.
พระเจ้ามิลินท์ ดีจริง พระคุณเจ้านาคเสน ข้าพเจ้าขอยอมรับตามคำที่ท่านกล่าวมานี้
วณฺณภณนปญฺโห
ทสโมฯ
วณฺณภณนปญฺโห
วัณณภณนปัญหา
ทสโม ลำดับที่ ๑๐
นิฏฺฐิโต
จบแล้ว
วัณณภณนปัญหาที่
๑๐ จบ
[1] จกฺกํ
แปลทับศัพท์ว่า จักร ซึ่งได้แก่ พระศาสนา. ความหมายของพระบาฬีนี้ คือ
เราเป็นธรรมราชาผู้ยอดเยี่ยมขับเคลื่อนศาสนาด้วยธรรมฝ่ายปฏิบัติและปฏิเวธอันยอดเยี่ยมที่สุด
อันได้แก่ สติปัฏฐาน โพชฌงค์เป็นต้น. อีกนัยหนึ่ง จกฺกํ ได้แก่ อาณาจักร หมายถึง
ขับเคลื่อนอาณาจักรคือภิกษุสาวกด้วยปริยัติศาสนาคือการเทศนาโดยนัยว่า ละสิ่งนี้
ปฏิบัติสิ่งนี้. อีกนัยหนึ่ง ได้แก่ ธรรมจักร หมายถึง ขับเคลื่อนธรรมจักร
ที่แตกออกเป็นเทศนาและปฏิเวธ ด้วยปริยัติธรรม โดยนัยว่า ภิกษุทั้งหลาย ก็นี้แลคือทุกขอริยสัจจ์ เป็นต้น. (เสลสุตฺตวณฺณนา
ม.ม.อ.๓๙๙)
(ม.มู.ฏี.๓๙๙)
[2] ที.สี. มหาจุฬาเตปิฎก ๙/๖/๓
[3] ขุ.สุ. มหาจุฬาเตปิฏก ๒๕/๕๖๐/๔๔๗
ไม่มีความคิดเห็น:
แสดงความคิดเห็น