๗.
กุสลากุสลสมวิสมปญฺโห
กุสลากุสลสมวิสมปัญหา
๗. ‘‘ภนฺเต นาคเสน ‘กุสลการิสฺสปิ อกุสลการิสฺสปิ วิปาโก สมสโม,
อุทาหุ โกจิ วิเสโส อตฺถี’ติ?
มิลินฺโท
ราชา พระเจ้ามิลินท์ อาห ตรัสถามแล้ว อิติ ว่า ภนฺเต นาคเสน
ข้าแต่พระนาคเสนผู้เจริญ วิปาโก วิบาก กุสลการิสฺสปิ แม้ของผู้กระทำกุศลโดยปรกติ
อกุสลการิสฺสปิ แม้ของผู้กระทำอกุศลโดยปรกติ สมสโม เสมอเหมือนกัน, อุทาหุ
หรือว่า โกจิ บางอย่าง วิเสโส ต่างกัน อตฺถิ มีอยู่
ดังนี้.
‘‘อตฺถิ, มหาราช, กุสลสฺส จ อกุสลสฺส จ วิเสโส, กุสลํ, มหาราช, สุขวิปากํ สคฺคสํวตฺตนิกํ, อกุสลํ ทุกฺขวิปากํ นิรยสํวตฺตนิก’’นฺติ.
นาคเสโน
เถโร พระนาคเสนเถร อาห ทูลแล้ว อิติ ว่า มหาราช
มหาบพิตร วิเสโส ความต่างกันของกุศล จ และ อกุสลสฺส ของอกุศล
จ ด้วย อตฺถิ มีอยู่, มหาราช มหาบพิตร กุสลํ กุศล สุขวิปากํ
มีสุขเป็นวิบาก สคฺคสํวตฺตนิกํ เป็นไปพร้อมเพื่อสวรรค์, อกุสลํ
อกุศล ทุกฺขวิปากํ มีทุกข์เป็นวิบาก นิรยสํวตฺตนิกํ
เป็นไปพร้อมเพื่อนรก ดังนี้
‘‘ภนฺเต นาคเสน, ตุมฺเห ภณถ ‘เทวทตฺโต
เอกนฺตกณฺโห, เอกนฺตกณฺเหหิ ธมฺเมหิ สมนฺนาคโต, โพธิสตฺโต เอกนฺตสุกฺโก, เอกนฺตสุกฺเกหิ ธมฺเมหิ สมนฺนาคโต’ติ. ปุน จ เทวทตฺโต ภเว ภเว ยเสน จ ปกฺเขน จ โพธิสตฺเตน สมสโม โหติ,
กทาจิ อธิกตโร วา.
มิลินฺโท
ราชา พระเจ้ามิลินท์ อาห ตรัสแล้ว อิติ ว่า ภนฺเต นาคเสน
ข้าแต่พระนาคเสนผู้เจริญ ตุมฺเห ท่านทั้งหลาย ภณถ ย่อมกล่าว อิติ
ว่า เทวทตฺโต พระเทวทัต เอกนฺตกณฺโห เป็นคนดำด้านเดียว, สมนฺนาคโต
ประกอบแล้ว ธมฺเมหิ ด้วยธรรมทั้งหลาย เอกนฺตกณฺเหหิ
ด้วยธรรมดำโดยส่วนเดียว, โพธิสตฺโต พระโพธิสัตว์ เอกนฺตสุกฺโก
เป็นคนขาวด้านเดียว, สมนฺนาคโต ประกอบแล้ว ธมฺเมหิ ด้วยธรรมทั้งหลาย
เอกนฺตสุกฺเกหิ ฝ่ายขาวด้านเดียว ดังนี้. จ ก็ (อปรํ) เรื่องอื่น (อตฺถิ)
ยังมี ปุน อีก คือ จ ก็ เทวทตฺโต พระเทวทัต สมสโม
เป็นผู้เสมอเหมือน โพธิสตฺเตน ด้วยพระโพธิสัตว์ ยเสน จ โดยยศ ด้วย ปกฺเขน
จ โดยพวกพ้อง ด้วย ภเว ภเว ในทุกๆภพ, กทาจิ ในบางภพ อธิกตโร
วา ก็เป็นผู้ยิ่งกว่า บ้าง,
ยทา
เทวทตฺโต นคเร พาราณสิยํ พฺรหฺมทตฺตสฺส รญฺโญ ปุโรหิตปุตฺโต อโหสิ, ตทา โพธิสตฺโต ฉวกจณฺฑาโล อโหสิ วิชฺชาธโร, วิชฺชํ
ปริชปฺปิตฺวา อกาเล อมฺพผลานิ นิพฺพตฺเตสิ, เอตฺถ ตาว
โพธิสตฺโต เทวทตฺตโต ชาติยา นิหีโน ยเสน จ นิหีโน.
เทวทตฺโต
พระเทวทัต ปุโรหิตปุตฺโต เป็นบุตรปุโรหิต พฺรหฺมทตฺตสฺส รญฺโญ
ของพระเจ้าพรหมทัต นคเร พาราณสิยํ ในพระนครพาราณสี อโหสิ ได้เป็นแล้ว
ยทา ในกาลใด, ตทา ในกาลนั้น โพธิสตฺโต พระโพธิสัตว์ ฉวกจณฺฑาโล
เป็นจัณฑาลชั้นต่ำ วิชฺชาธโร ผู้ทรงวิชา, ปริชปฺปิตฺวา ร่ายแล้ว วิชฺชํ
ซึ่งวิชา อมฺพผลานิ ยังผลมะม่วง นิพฺพตฺเตสิ ให้เกิดแล้ว อกาเล
ในสมัยมิใช่กาล, เอตฺถ ในภพนี้ โพธิสตฺโต นิหีโน เป็นผู้ด้อย เทวทตฺตโต
กว่าพระเทวทัต ชาติยา โดยชาติ จ ด้วย นิหีโน เป็นผู้ด้อยกว่า
ยเสน โดยยศ จ ด้วย ตตฺถ ในชาตินั้น ตาว มีประมาณนี้.
‘‘ปุน จปรํ ยทา เทวทตฺโต ราชา อโหสิ มหา มหีปติ สพฺพกามสมงฺคี, ตทา โพธิสตฺโต ตสฺสูปโภโค อโหสิ หตฺถินาโค สพฺพลกฺขณสมฺปนฺโน, ตสฺส จารุคติวิลาสํ อสหมาโน ราชา วธมิจฺฉนฺโต หตฺถาจริยํ เอวมโวจ ‘อสิกฺขิโต เต, อาจริย, หตฺถินาโค,
ตสฺส อากาสคมนํ นาม การณํ กโรหี’ติ, ตตฺถปิ ตาว โพธิสตฺโต เทวทตฺตโต ชาติยา นิหีโน ลามโก ติรจฺฉานคโต.
จ ก็ อปรํ
เรื่องอื่น ปุน ยังมีอีก, เทวทตฺโต พระเทวทัต ราชา
เป็นพระราชา มหีปติ ทรงเป็นพระเจ้าแผ่นดิน มหา ใหญ่ สพฺพกามสมงฺคี
ทรงเพียบพร้อมด้วยกามทั้งปวง ยทา ในกาลใด, ตทา ในกาลนั้น โพธิสตฺโต
พระโพธิสัตว์ หตฺถินาโค เป็นพญาช้าง อุปโภโค เครื่องใช้สอย ตสฺส
รญฺโญ มหามหีปติโน ของพระราชาเจ้าแผ่นดินใหญ่นั้น สพฺพลกฺขณสมฺปนฺโน
สมบูรณ์ด้วยลักษณะทุกอย่าง, ราชา พระราชา อสหมาโน เมื่อทรงไม่อดทน
จารุคติวิลาสํ ซึ่งการเยื้องกรายไปที่งดงาม ตสฺส หตฺถิโน ของช้างนั้น
อิจฺฉนฺโต เมื่อทรงประสงค์ วธกํ ซึ่งการฆ่า อโวจ ได้ตรัสแล้ว
หตฺถาจริยํ กะนายหัตถาจารย์ อิติ ว่า อาจริย ท่านอาจารย์ หตฺถินาโค
พญาช้าง เต อันท่าน อสิกฺขิโต ไม่ได้ฝึกฝน (ให้ไปในอากาศ), ตฺวํ
ท่าน กโรหิ จงกระทำ การณํ ซึ่งเหตุ อากาสคมนํ นาม ชื่อ
อากาสคมนะ (จงสอนวิชาเป็นเหตุให้เหาะไปในอากาศ)
ตสฺส หตฺถินาคสฺส แก่พญาช้างนั้น ดังนี้, โพธิสตฺโต พระโพธิสัตว์ ติรจฺฉานคโต
เป็นดิรัจฉาน นิหีโน ต่ำ ลามโก แย่ เทวทตฺตโต กว่าพระเทวทัต ชาติยา
โดยชาติ ตตฺถ แม้ในภพนั้น ตาว มีประมาณนี้.
‘‘ปุน จปรํ ยทา เทวทตฺโต มนุสฺโส อโหสิ ปวเน นฏฺฐายิโก, ตทา โพธิสตฺโต มหาปถวี นาม มกฺกโฏ อโหสิ, เอตฺถปิ
ตาว ทิสฺสติ วิเสโส มนุสฺสสฺส จ ติรจฺฉานคตสฺส จ, ตตฺถปิ ตาว
โพธิสตฺโต เทวทตฺตโต ชาติยา นิหีโน.
จ ก็ อปรํ
เรื่องอื่น ปุน ยังมีอีก เทวทตฺโต พระเทวทัต มนุสฺโส เป็นมนุษย์
นฏฺฐายิโก ผู้มุ่งแต่ความฉิบหาย[1] ปวเน
ในป่า อโหสิ ได้เป็นแล้ว ยทา ในกาลใด, ตทา ในกาลนั้น โพธิสตฺโต
พระโพธิสัตว์ มกฺกโฏ เป็นลิง มหาปถวี นาม ชื่อมหาปฐพี อโหสิ
ได้เป็นแล้ว, วิเสโส ความต่างกัน มนุสฺสสฺส จ ระหว่างมนุษย์ ติรจฺฉานคตสฺส
จ และดิรัจฉาน ทิสฺสติ ถูกเห็นอยู่ (ปรากฏ) เอตฺถปิ ในป่านั้น
ตาว ประมาณนี้, ตตฺถปิ ในภพนั้น โพธิสตฺโต พระโพธิสัตว์ นิหีโน
ด้อยกว่า เทวทตฺตโต กว่าพระเทวทัต ชาติยา โดยชาติ ตาว มีประมาณนี้.
‘‘ปุน จปรํ ยทา
เทวทตฺโต มนุสฺโส อโหสิ โสณุตฺตโร นาม เนสาโท พลวา พลวตโร นาคพโล, ตทา โพธิสตฺโต ฉทฺทนฺโต นาม นาคราชา อโหสิ. ตทา โส ลุทฺทโก ตํ หตฺถินาคํ
ฆาเตสิ, ตตฺถปิ ตาว เทวทตฺโตว อธิกตโร.
จ ก็ อปรํ
เรื่องอื่น ปุน ยังมีอีก เทวทตฺโต พระเทวทัต มนุสฺโส
เป็นมนุษย์ เนสาโท ผู้เป็นพราน โสณุตฺตโร นาม นามว่า โสณุตตระ พลวา
แข็งแรง พลวตโร มีเรี่ยวแรงยิ่งนัก นาคพโล มีกำลังเท่าช้างสาร อโหสิ
ได้เป็นแล้ว ยทา ในกาลใด, ตทา ในกาลนั้น โพธิสตฺโต
พระโพธิสัตว์ นาคราชา เป็นพญาช้าง ฉทฺทนฺโต นาม ชื่อฉัททันตะ อโหสิ
ได้เป็นแล้ว, ตทา ในกาลนั้น โส ลุทฺทโก นายพรานนั้น ฆาเตติ
ฆ่าแล้ว ตํ หตฺถินาคํ ซึ่งพญาช้างนั้น, ตตฺถปิ แม้ในชาตินั้น เทวทตฺโต ว
พระเทวทัตนั่นเทียว อธิกตโร เป็นผู้ยิ่งกว่า มีประมาณเท่านี้.
‘‘ปุน จปรํ ยทา เทวทตฺโต มนุสฺโส อโหสิ วนจรโก อนิเกตวาสี, ตทา โพธิสตฺโต สกุโณ อโหสิ ติตฺติโร มนฺตชฺฌายี, ตทาปิ
โส วนจรโก ตํ สกุณํ ฆาเตสิ, ตตฺถปิ ตาว เทวทตฺโตว ชาติยา
อธิกตโร.
จ ก็ อปรํ
เรื่องอื่น ปุน ยังมีอีก เทวทตฺโต พระเทวทัต มนุสฺโส
เป็นมนุษย์ วนจรโก เป็นคนเดินป่า อนิเกตวาสี มีปกติอยู่ในที่ไม่ใช่บ้าน
อโหสิ ได้เป็นแล้ว ยทา ในกาลใด, ตทา ในกาลนั้น โพธิสตฺโต
พระโพธิสัตว์ สกุโณ เป็นนก ติตฺติโร นกกระทา มนฺตชฺฌายี
เคร่งมนต์เป็นนิตย์ อโหสิ ได้เป็นแล้ว, ตทาปิ แม้ในกาลนั้น วนจรโก
คนเเดินป่า โส นั้น ฆาเตสิ ฆ่าแล้ว ตํ สกุณํ ซึ่งนกนั้น, ตตฺถปิ
แม้ในชาตินั้น เทวทตฺโต ว พระเทวทัตนั่นเทียว อธิกตโร เป็นผู้ยิ่งกว่า
ตาว มีประมาณเท่านี้.
‘‘ปุน จปรํ ยทา เทวทตฺโต กลาพุ นาม กาสิราชา อโหสิ,
ตทา โพธิสตฺโต ตาปโส อโหสิ ขนฺติวาที. ตทา โส
ราชา ตสฺส ตาปสสฺส กุทฺโธ หตฺถปาเท วํสกฬีเร วิย เฉทาเปสิ, ตตฺถปิ
ตาว เทวทตฺโต เยว อธิกตโร ชาติยา จ ยเสน จ.
จ ก็ อปรํ
เรื่องอื่น ปุน ยังมีอีก เทวทตฺโต พระเทวทัต กาสิราชา เป็นพระเจ้ากรุงกาสิ
กลาพุ นาม ทรงพระนามว่า กลาพุ อโหสิ ได้เป็นแล้ว ยทา
ในกาลใด, ตทา ในกาลนั้น โพธิสตฺโต พระโพธิสัตว์ ตาปโส เป็นดาบส
ขนฺติวาที นามว่า ขันติวาที อโหสิ ได้เป็นแล้ว. ตทา
ในกาลนั้น โส ราชา พระเจ้ากรุงกาสิ นั้น กุทฺโธ กริ้วแล้ว ตสฺส
ตาปสสฺส ต่อดาบส เฉทาเปสิ รับสั่งให้ราชบุรุษ หตฺถปาเท
ซึ่งมือและเท้า วํสกฬีเร ฉินฺทนฺโต วิย เหมือนดังตัดอยู่ซึ่งหน่อไม้. ตตฺถปิ
แม้ในภพนั้น เทวทตฺโตเยว พระเทวทัต นั่นเทียว อธิกตโร เป็นผู้ยิ่งกว่า
ชาติยา จ โดยชาติ ยเสน จ และโดยยศ ตาว ประมาณนั้น.
‘‘ปุน จปรํ ยทา เทวทตฺโต มนุสฺโส อโหสิ วนจโร, ตทา
โพธิสตฺโต นนฺทิโย นาม วานรินฺโท อโหสิ, ตทาปิ โส วนจโร ตํ
วานรินฺทํ ฆาเตสิ สทฺธิํ มาตรา กนิฏฺฐภาติเกน จ, ตตฺถปิ ตาว
เทวทตฺโต เยว อธิกตโร ชาติยา.
จ ก็
อปรํ เรื่องอื่น ปุน ยังมีอีก เทวทตฺโต พระเทวทัต มนุสฺโส
เป็นมนุษย์ วนจโร ผู้เดินป่า อโหสิ ได้เป็นแล้ว ยทา ในกาลใด,
ตทา ในกาลนั้น โพธิสตฺโต พระโพธิสัตว์ วานรินฺโท เป็นพญาลิง นนฺทิโย
นาม ชื่อว่า นันทิยะ อโหสิ ได้เป็นแล้ว, ตทาปิ แม้ในกาลนั้น โส
วนจโร พรานป่านั้น ฆาเตสิ ฆ่าแล้ว ตํ วานรินฺทํ ซึ่งพญาลิงนั้น สทฺธิํ
พร้อม มาตรา แม่ จ ด้วย กนิฏฺฐภาติเกน จ น้องชายด้วย, ตตฺถปิ
แม้ในภพนั้น เทวทตฺโตเยว พระเทวทัต นั่นเทียว อธิกตโร เป็นผู้ยิ่งกว่า
ชาติยา โดยชาติ ตาว ประมาณนั้น.
‘‘ปุน จปรํ ยทา เทวทตฺโต มนุสฺโส อโหสิ อเจลโก การมฺภิโย นาม, ตทา โพธิสตฺโต ปณฺฑรโก นาม นาคราชา อโหสิ, ตตฺถปิ
ตาว เทวทตฺโต เยว อธิกตโร ชาติยา.
จ ก็ อปรํ
เรื่องอื่น ปุน ยังมีอีก เทวทตฺโต พระเทวทัต มนุสฺโส
เป็นมนุษย์ อเจลิโก ผู้บวชในลัทธิอเจละ (ชีเปลือย) การมฺภิโย นาม
ชื่อการัมภิยะ อโหสิ ได้เป็นแล้ว ยทา ในกาลใด, ตทา ในกาลนั้น
โพธิสตฺโต พระโพธิสัตว์ นาคราชา เป็นพญาช้าง ปณฺฑรโก นาม
ชื่อว่า ปัณฑรกะ อโหสิ ได้เป็นแล้ว, ตตฺถปิ แม้ในภพนั้น เทวทตฺโตเยว พระเทวทัต นั่นเทียว อธิกตโร
เป็นผู้ยิ่งกว่า ชาติยา โดยชาติ ตาว ประมาณนั้น.
‘‘ปุน จปรํ ยทา เทวทตฺโต มนุสฺโส อโหสิ ปวเน ชฏิลโก, ตทา
โพธิสตฺโต ตจฺฉโก นาม มหาสูกโร อโหสิ, ตตฺถปิ ตาว เทวทตฺโต
เยว ชาติยา อธิกตโร.
จ ก็ อปรํ
เรื่องอื่น ปุน ยังมีอีก เทวทตฺโต พระเทวทัต มนุสฺโส
เป็นมนุษย์ ชฏิลโก เป็นนักบวชชฎิล ปวเน ในป่า อโหสิ
ได้เป็นแล้ว ยทา ในกาลใด, ตทา ในกาลนั้น โพธิสตฺโต
พระโพธิสัตว์ มหาสูกโร เป็นสุกรใหญ่ ตจฺฉโก นาม ชื่อว่า ตัจฉกะ อโหสิ
ได้เป็นแล้ว, ตตฺถปิ แม้ในภพนั้น เทวทตฺโตเยว
พระเทวทัต นั่นเทียว อธิกตโร เป็นผู้ยิ่งกว่า ชาติยา โดยชาติ ตาว
ประมาณนั้น.
‘‘ปุน จปรํ ยทา เทวทตฺโต เจตีสุ สูรปริจโร นาม ราชา อโหสิ อุปริ ปุริสมตฺเต
คคเน เวหาสงฺคโม, ตทา โพธิสตฺโต กปิโล นาม พฺราหฺมโณ อโหสิ,
ตตฺถปิ ตาว เทวทตฺโต เยว อธิกตโร ชาติยา จ ยเสน จ.
จ ก็ อปรํ
เรื่องอื่น ปุน ยังมีอีก เทวทตฺโต พระเทวทัต ราชา
เป็นพระราชา สูรปริจโร นาม ทรงพระนามว่า สูรปริจระ เจตีสุ ในแคว้นชื่อเจดีย์
เวหาสคโม ผู้ไปในอากาศ คคเน (จรนฺโต) ดำเนินไป คคเน ในอากาศ อุปริ
เบื้องบน ปุริสมตฺเต ชั่วหนึ่งบุรุษ อโหสิ ได้เป็นแล้ว ยทา
ในกาลใด, ตทา ในกาลนั้น โพธิสตฺโต พระโพธิสัตว์ พฺราหฺมโณ
เป็นพราหมณ์ กปิโล นาม ชื่อว่า กปิละ อโหสิ ได้เป็นแล้ว, ตตฺถปิ
แม้ในภพนั้น เทวทตฺโตเยว พระเทวทัต
นั่นเทียว อธิกตโร เป็นผู้ยิ่งกว่า ชาติยา โดยชาติ ตาว ประมาณนั้น.
‘‘ปุน จปรํ ยทา เทวทตฺโต มนุสฺโส อโหสิ สาโม นาม, ตทา
โพธิสตฺโต รุรุ นาม มิคราชา อโหสิ, ตตฺถปิ ตาว เทวทตฺโต เยว
ชาติยา อธิกตโร.
จ ก็ อปรํ
เรื่องอื่น ปุน ยังมีอีก เทวทตฺโต พระเทวทัต มนุสฺโส เป็นมนุษย์
สาโม นาม ชื่อว่า สามะ อโหสิ ได้เป็นแล้ว ยทา ในกาลใด, ตทา
ในกาลนั้น โพธิสตฺโต พระโพธิสัตว์ มิคราชา เป็นพญาเนื้อ รุรุ นาม
ชื่อว่า รุรุ อโหสิ ได้เป็นแล้ว, ตตฺถปิ แม้ในภพนั้น เทวทตฺโตเยว พระเทวทัต นั่นเทียว อธิกตโร
เป็นผู้ยิ่งกว่า ชาติยา โดยชาติ ตาว ประมาณนั้น.
‘‘ปุน จปรํ ยทา เทวทตฺโต มนุสฺโส อโหสิ ลุทฺทโก ปวนจโร, ตทา โพธิสตฺโต หตฺถินาโค อโหสิ, โส ลุทฺทโก ตสฺส
หตฺถินาคสฺส สตฺตกฺขตฺตุํ ทนฺเต ฉินฺทิตฺวา หริ, ตตฺถปิ ตาว
เทวทตฺโต เยว โยนิยา อธิกตโร.
จ ก็ อปรํ
เรื่องอื่น ปุน ยังมีอีก เทวทตฺโต พระเทวทัต มนุสฺโส เป็นมนุษย์
ลุทฺทโก เป็นพราน ปวนจโร อยู่ในป่า อโหสิ ได้เป็นแล้ว ยทา
ในกาลใด, ตทา ในกาลนั้น โพธิสตฺโต พระโพธิสัตว์ หตฺถินาโค เป็นพญาช้าง,
โส ลุทฺทโก นายพรานนั้น ฉินฺทิตฺวา
ตัดแล้ว ทนฺเต ซึ่งงาทั้ืงหลาย ตสฺส หตฺถินาคสฺส ของพญาช้างนั้น
สตฺตกฺขตฺตุํ เจ็ดครั้ง หริ ลักไปแล้ว, ตตฺถปิ
แม้ในภพนั้น เทวทตฺโตเยว พระเทวทัต
นั่นเทียว อธิกตโร เป็นผู้ยิ่งกว่า โยนิยา โดยกำเนิด ตาว
ประมาณนั้น.
‘‘ปุน จปรํ ยทา เทวทตฺโต สิงฺคาโล อโหสิ ขตฺติยธมฺโม, โส
ยาวตา ชมฺพุทีเป ปเทสราชาโน เต สพฺเพ อนุยุตฺเต อกาสิ, ตทา โพธิสตฺโต วิธุโร นาม ปณฺฑิโต อโหสิ, ตตฺถปิ
ตาว เทวทตฺโต เยว ยเสน อธิกตโร.
จ ก็ อปรํ
เรื่องอื่น ปุน ยังมีอีก เทวทตฺโต พระเทวทัต สิงฺคาโล เป็นสุนัขจิ้งจอก[2] ขตฺติยธมฺโม
ทรงขัตติยธรรม, ปเทสราชาโน ราชาของประเทศทั้งหลาย ชมฺพุทีเป
ในชมพูทวีป ยาวตา มีประมาณเพียงไร,โส ราชา พระราชานั้น อกาสิ
ทรงกระทำแล้ว เต ราชาโน ซึ่งพระราชาเหล่านั้น สพฺเพ ทั้งปวง อนุยุตฺเต
ให้เป็นผู้อันพระองค์ทรงใช้งานได้เนืองๆ อโหสิ ได้เป็นแล้ว ยทา
ในกาลใด, ตทา ในกาลนั้น โพธิสตฺโต พระโพธิสัตว์ ปณฺฑิโต เป็นบัณฑิต
วิธุโร นาม ชื่อว่า วิธุระ อโหสิ ได้เป็นแล้ว, ตตฺถปิ แม้ในภพนั้น เทวทตฺโตเยว พระเทวทัต นั่นเทียว อธิกตโร
เป็นผู้ยิ่งกว่า ยเสน โดยยศ ตาว ประมาณนั้น.
‘‘ปุน จปรํ ยทา เทวทตฺโต หตฺถินาโค หุตฺวา ลฏุกิกาย
สกุณิกาย ปุตฺตเก ฆาเตสิ, ตทา โพธิสตฺโตปิ หตฺถินาโค อโหสิ
ยูถปติ, ตตฺถ ตาว อุโภปิ เต สมสมา อเหสุํ.
จ ก็ อปรํ
เรื่องอื่น ปุน ยังมีอีก เทวทตฺโต พระเทวทัต หตฺถินาโค หุตฺวา
เป็นพญาช้าง ฆาเตสิ ฆ่าแล้ว ปุตฺตเก ซึ่งลูกน้อยทั้งหลาย สกุณิกาย
ของนางนก ลฏุกิกาย ผู้เป็นนกไส้ ยทา ในกาลใด, ตทา
ในกาลนั้น โพธิสตฺโต พระโพธิสัตว์ หตฺถินาโค เป็นพญาช้าง ยูถปติ ผู้จ่าโขลง
อโหสิ ได้เป็นแล้ว, ตตฺถปิ แม้ในภพนั้น อุโภปิ แม้ทั้งสอง สมสมา
เป็นผู้เสมอเหมือนกัน ตาว
ประมาณนั้น อเหสุํ ได้เป็นแล้ว.
‘‘ปุน จปรํ ยทา เทวทตฺโต ยกฺโข อโหสิ อธมฺโม นาม, ตทา โพธิสตฺโตปิ
ยกฺโข อโหสิ ธมฺโม นาม, ตตฺถปิ ตาว อุโภปิ สมสมา อเหสุํ.
จ ก็ อปรํ
เรื่องอื่น ปุน ยังมีอีก เทวทตฺโต พระเทวทัต ยกฺโข เป็นยักษ์
อธมฺโม ชื่อว่า อธรรมะ อโหสิ ได้เป็นแล้ว ยทา ในกาลใด, ตทา
ในกาลนั้น โพธิสตฺโต พระโพธิสัตว์ ยกฺโข เป็นยักษ์ ธมฺโม ชื่อว่า
ธรรมะ อโหสิ ได้เป็นแล้ว, ตตฺถปิ แม้ในภพนั้น อุโภปิ
แม้ทั้งสอง สมสมา เป็นผู้เสมอเหมือนกัน ตาว ประมาณนั้น อเหสุํ ได้เป็นแล้ว.
‘‘ปุน จปรํ ยทา เทวทตฺโต นาวิโก อโหสิ ปญฺจนฺนํ กุลสตานํ อิสฺสโร, ตทา โพธิสตฺโตปิ นาวิโก อโหสิ ปญฺจนฺนํ กุลสตานํ อิสฺสโร, ตตฺถปิ ตาว อุโภปิ สมสมา อเหสุํ.
จ ก็
อปรํ เรื่องอื่น ปุน ยังมีอีก เทวทตฺโต พระเทวทัต นาวิโก เป็นต้นหนเรือ
อิสฺสโร เป็นใหญ่ กุลสตานํ แห่งร้อยแห่งตระกูลทั้งหลาย ปญฺจนฺนํ
ห้า อโหสิ ได้เป็นแล้ว ยทา ในกาลใด, ตทา ในกาลนั้น โพธิสตฺโต
พระโพธิสัตว์ นาวิโก เป็นนายเรือ อิสฺสโร เป็นใหญ่ กุลสตานํ
แห่งร้อยแห่งตระกูลทั้งหลาย ปญฺจนฺนํ ห้า อโหสิ ได้เป็นแล้ว,
ตตฺถปิ แม้ในภพนั้น อุโภปิ แม้ทั้งสอง สมสมา เป็นผู้เสมอเหมือนกัน ตาว ประมาณนั้น อเหสุํ
ได้เป็นแล้ว.
‘‘ปุน จปรํ ยทา เทวทตฺโต สตฺถวาโห อโหสิ ปญฺจนฺนํ สกฏสตานํ อิสฺสโร, ตทา โพธิสตฺโตปิ สตฺถวาโห อโหสิ ปญฺจนฺนํ สกฏสตานํ อิสฺสโร, ตตฺถปิ ตาว อุโภปิ สมสมา อเหสุํ.
จ ก็ อปรํ
เรื่องอื่น ปุน ยังมีอีก เทวทตฺโต พระเทวทัต สตฺถวาโห เป็นนายเกวียน
อิสฺสโร เป็นใหญ่ กุลสตานํ แห่งร้อยแห่งตระกูลทั้งหลาย ปญฺจนฺนํ
ห้า อโหสิ ได้เป็นแล้ว ยทา ในกาลใด, ตทา ในกาลนั้น โพธิสตฺโต
พระโพธิสัตว์ สตฺถวาโห เป็นนายเกวียน อิสฺสโร เป็นใหญ่ กุลสตานํ
แห่งร้อยแห่งตระกูลทั้งหลาย ปญฺจนฺนํ ห้า อโหสิ ได้เป็นแล้ว, ตตฺถปิ
แม้ในภพนั้น อุโภปิ แม้ทั้งสอง สมสมา เป็นผู้เสมอเหมือนกัน ตาว ประมาณนั้น อเหสุํ
ได้เป็นแล้ว.
‘‘ปุน จปรํ ยทา เทวทตฺโต สาโข นาม มิคราชา อโหสิ,
ตทา โพธิสตฺโตปิ นิคฺโรโธ นาม มิคราชา อโหสิ, ตตฺถปิ
ตาว อุโภปิ สมสมา อเหสุํ.
จ ก็ อปรํ
เรื่องอื่น ปุน ยังมีอีก เทวทตฺโต พระเทวทัต มิคราชา เป็นพญาเนื้อ
สาโข นาม ชื่อว่า สาขะ อโหสิ ได้เป็นแล้ว ยทา ในกาลใด, ตทา
ในกาลนั้น โพธิสตฺโต พระโพธิสัตว์ มิคราชา เป็นพญาเนื้อ นิโครโธ
นาม ชื่อว่า นิโครธะ อโหสิ ได้เป็นแล้ว, ตตฺถปิ แม้ในภพนั้น อุโภปิ
แม้ทั้งสอง สมสมา เป็นผู้เสมอเหมือนกัน
ตาว ประมาณนั้น อเหสุํ ได้เป็นแล้ว.
‘‘ปุน จปรํ ยทา เทวทตฺโต สาโข นาม เสนาปติ อโหสิ, ตทา โพธิสตฺโตปิ
นิคฺโรโธ นาม ราชา อโหสิ, ตตฺถปิ ตาว อุโภปิ สมสมา อเหสุํ.
จ ก็
อปรํ เรื่องอื่น ปุน ยังมีอีก เทวทตฺโต พระเทวทัต เสนาปติ
เป็นเสนาบดี สาโข นาม ชื่อว่า สาขะ อโหสิ ได้เป็นแล้ว ยทา
ในกาลใด, ตทา ในกาลนั้น โพธิสตฺโต ราชา เป็นพระราชา พระนามว่า นิโครธะ อโหสิ ได้เป็นแล้ว, ตตฺถปิ
แม้ในภพนั้น อุโภปิ แม้ทั้งสอง สมสมา เป็นผู้เสมอเหมือนกัน ตาว ประมาณนั้น อเหสุํ
ได้เป็นแล้ว.
‘‘ปุน จปรํ ยทา เทวทตฺโต ขณฺฑหาโล นาม พฺราหฺมโณ อโหสิ, ตทา โพธิสตฺโต จนฺโท นาม ราชกุมาโร อโหสิ, ตทา โส
ขณฺฑหาโล เยว อธิกตโร.
จ ก็
อปรํ เรื่องอื่น ปุน ยังมีอีก เทวทตฺโต พระเทวทัต พฺราหฺมโณ
เป็นพราหมณ์ ขณฺฑหาโล นาม ชื่อว่า ขัณฑหาละ อโหสิ ได้เป็นแล้ว ยทา
ในกาลใด, ตทา ในกาลนั้น โพธิสตฺโต ราชกุมาโร เป็นพระราชกุมาร จนฺโท
นาม พระนามว่า จันทะ อโหสิ
ได้เป็นแล้ว, ตทา ในกาลนั้น โส ขณฺฑหาโลเยว
อธิกตโร เป็นผู้ยิ่งกว่า ตาว ประมาณนั้น โหติ ย่อมเป็น.
‘‘ปุน จปรํ ยทา เทวทตฺโต พฺรหฺมทตฺโต นาม ราชา อโหสิ, ตทา
โพธิสตฺโต ตสฺส ปุตฺโต มหาปทุโม นาม กุมาโร อโหสิ, ตทา โส
ราชา สกปุตฺตํ โจรปปาเต ขิปาเปสิ, ยโต กุโตจิ ปิตาว ปุตฺตานํ
อธิกตโร โหติ วิสิฏฺโฐติ, ตตฺถปิ ตาว เทวทตฺโต เยว อธิกตโร.
จ ก็ อปรํ
เรื่องอื่น ปุน ยังมีอีก เทวทตฺโต พระเทวทัต ราชา
เป็นพระราชา พฺรหฺมทตฺโต นาม ทรงพระนามว่า พรหมทัต อโหสิ ได้เป็นแล้ว ยทา ในกาลใด, ตทา
ในกาลนั้น โพธิสตฺโต พระโพธิสัตว์
กุมาโร เป็นกุมาร ตสฺส ปุตฺโต ผู้ราชบุตร พฺรหฺมทตฺตรญฺโญ
ของพระเจ้าพรหมทัตนั้น มหาปทุโม นาม
มีนามว่า มหาปทุม อโหสิ
ได้เป็นแล้ว, ตทา ในกาลนั้น โส ราชา พระราชานั้น ขิปาเปสิ
รับสั่งให้ราชบุรุษโยนไป สกปุตฺตํ ซึ่งบุตรของตน โจรปปาเต
ในเหวทิ้งโจร, ยโต กุโตจิ ในบางภพ เทวทตฺโต พระเทวทัต ปิตาว
เป็นบิดา นั่นเทียว อธิกตโร เป็นผู้ยิ่งกว่า วิสิฏฺโฐ
เป็นผู้พิเศษกว่า ปุตฺตานํ แห่งบุตรทั้งหลาย โหติ ย่อมเป็น, ตตฺถปิ
แม้ในภพนั้น เทวทตฺโตเยว พระเทวทัต
นั่นเทียว อธิกตโร เป็นผู้ยิ่งกว่า ตาว ประมาณนั้น.
‘‘ปุน จปรํ ยทา เทวทตฺโต มหาปตาโป นาม ราชา อโหสิ,
ตทา โพธิสตฺโต ตสฺส ปุตฺโต ธมฺมปาโล นาม กุมาโร
อโหสิ, ตทา โส ราชา สกปุตฺตสฺส หตฺถปาเท สีสญฺจ เฉทาเปสิ,
ตตฺถปิ ตาว เทวทตฺโต เยว อุตฺตโร อธิกตโร.
จ ก็
อปรํ เรื่องอื่น ปุน ยังมีอีก เทวทตฺโต พระเทวทัต ราชา
เป็นพระราชา มหาปตาโป นาม ทรงพระนามว่า มหาปตาปะ อโหสิ ได้เป็นแล้ว ยทา ในกาลใด, ตทา
ในกาลนั้น โพธิสตฺโต พระโพธิสัตว์
กุมาโร เป็นกุมาร ปุตฺโต ผู้ราชบุตร ตสฺส มหาปตาปรญฺโญ
ของพระเจ้ามหาตาปะ นั้น ธมฺมปาโล นาม นามว่า ธรรมปาละ อโหสิ ได้เป็นแล้ว, ตทา ในกาลนั้น โส ราชา พระราชานั้น
เฉทาเปสิ รับสั่งให้ราชบุรุษตัด หตฺถปาเท ซึ่งมือและเท้าทั้งหลาย จ
ด้วย สีสญฺจ ซึ่งศีรษะ ด้วย สกปุตฺตสฺส แห่งบุตรของตน, ตตฺถปิ
แม้ในภพนั้น เทวทตฺโตเยว พระเทวทัต
นั่นเทียว อุตฺตโร เป็นผู้เหนือกว่า
อธิกตโร เป็นผู้ยิ่งกว่า ตาว ประมาณนั้น.
อชฺเชตรหิ
อุโภปิ สกฺยกุเล ชายิํสุ. โพธิสตฺโต พุทฺโธ อโหสิ สพฺพญฺญู โลกนายโก, เทวทตฺโต ตสฺส เทวาติเทวสฺส สาสเน ปพฺพชิตฺวา อิทฺธิํ นิพฺพตฺเตตฺวา
พุทฺธาลยํ อกาสิ. กิํ นุ โข, ภนฺเต นาคเสน, ยํ มยา ภณิตํ, ตํ สพฺพํ ตถํ อุทาหุ วิตถ’’นฺติ?
อชฺเชตรหิ
มาวันนี้ เดี๋ยวนี้ อุโภปิ พระเทวทัตและพระโพธิสัตว์ แม้ทั้งสอง
ชายิํสุ สมภพแล้ว สกฺยกุเล ในศากยตระกูล, โพธิสตฺโต พระโพธิสัตว์
พุทฺโธ เป็นพระพุทธเจ้า สพฺพญฺญู เป็นผู้รู้ธรรมทั้งปวง โลกนายโก
เป็นผู้นำแห่งชาวโลก อโหสิ ได้เป็นแล้ว, เทวทตฺโต พระเทวทัต ปพฺพชิตฺวา
บวชแล้ว สาสเน ในพระศาสนา ตสฺส ของพระพุทธเจ้า เทวาติเทวสฺส ผู้ทรงเป็นเทพยิ่งเหล่าเทพ
อิทฺธิํ ยังฤทธิ์ นิพฺพตฺเตตฺวา ให้เกิดขึ้ืนแล้ว อกาสิ ได้กระทำแล้ว
พุทฺธาลยํ ซึ่งความต้องการเป็นพระพุทธเจ้า, ภนฺเต นาคเสน ข้าแต่พระนาคเสนผู้เจริญ
ยํ วจนํ คำใด มยา อันเรา ภณิตํ กล่าวมาแล้ว ตํ สพฺพํ คำนั้น
ทั้งปวง ตถํ เป็นจริง อุทาหุ หรือ วิตถํ เรื่องไม่จริง กิํ
นุ โข หรือหนอแล ? ดังนี้
‘‘ยํ ตฺวํ, มหาราช, พหุวิธํ
การณํ โอสาเรสิ, สพฺพํ ตํ ตเถว, โน อญฺญถา’’ติ.
นาคเสโน
เถโร พระนาคเสนเถระ อาห ทูลแล้ว อิติ ว่า มหาราช มหาบพิตร
ตฺวํ มหาบพิตร โอสาเรสิ ยกขึ้นแล้ว[3] ยํ
การณํ ซึ่งเหตุใด พหุวิธํ หลายประการ, ตํ การณํ เหตุนั้น สพฺพํ
ทั้งปวง ตเถว เป็นจริงนั่นเทียว, ตํ เหตุนั้น อตฺถิ ย่อมมี อญฺญถา
โดยประการอื่น โน หามิได้ ดังนี้
‘‘ยทิ, ภนฺเต นาคเสน, กณฺโหปิ
สุกฺโกปิ สมสมคติกา โหนฺติ, เตน หิ กุสลมฺปิ อกุสลมฺปิ สมสมวิปากํ
โหตี’’ติ?
มิลินฺโท
ราชา พระเจ้ามิลินท์ อาห ตรัสถามแล้ว อิติ ว่า ภนฺเต
นาคเสน ข้าแต่พระนาคเสนผู้เจริญ ยทิ ถ้า กณฺโหปิ ทั้งผู้ทำธรรมฝ่ายดำ
สุกฺโกปิ อีกทั้งผู้ทำธรรมฝ่ายขาว สมสมคติกา มีคติเสมอเหมือนกัน โหนฺติ
ย่อมเป็นแล้วไซร้, เตนปิ ถ้าอย่างนั้น กุสลมฺปิ ทั้งกุศล อกุสลมฺปิ
ทั้งอกุศล สมสมวิปากํ จะต้องมีวิบากเสมอเหมือนกัน โหติ ย่อมเป็น
ละสิ ดังนี้
‘‘น หิ, มหาราช, กุสลมฺปิ
อกุสลมฺปิ สมสมวิปากํ โหติ, น หิ, มหาราช,
เทวทตฺโต สพฺพชเนหิ ปฏิวิรุทฺโธ, โพธิสตฺเตเนว
ปฏิวิรุทฺโธ. โย ตสฺส โพธิสตฺเตน ปฏิวิรุทฺโธ, โส ตสฺมิํ
ตสฺมิํ เยว ภเว ปจฺจติ ผลํ เทติ. เทวทตฺโตปิ, มหาราช,
อิสฺสริเย ฐิโต ชนปเทสุ อารกฺขํ เทติ, เสตุํ สภํ ปุญฺญสาลํ กาเรติ, สมณพฺราหฺมณานํ
กปณทฺธิกวณิพฺพกานํ นาถานาถานํ ยถาปณิหิตํ ทานํ เทติ. ตสฺส โส วิปาเกน ภเว ภเว
สมฺปตฺติโย ปฏิลภติ. กสฺเสตํ, มหาราช, สกฺกา
วตฺตุํ วินา ทาเนน ทเมน สํยเมน อุโปสถกมฺเมน สมฺปตฺติํ อนุภวิสฺสตีติ?
นาคเสโน เถโร
พระนาคเสนเถระ รญฺญา ปุฏฺโฐ ผู้อันพระราชา ตรัสถามแล้ว วิสฺสชฺชติ
จึงทูลตอบว่า มหาราช มหาบพิตร, กุสลมฺปิ กุศล อกุสลมฺปิ
แม้อกุศล สมสมวิปากํ จะมีวิบากเสมอเหมือนกัน น หามิได้ โหติ
ย่อมเป็น, มหาราช มหาบพิตร หิ ก็ เทวทตฺโต พระเทวทัต ปฏิวิรุทฺโธ[4] อาฆาตแล้ว
สพฺพชเนหิ กับชนทั้งปวงทั้งหลาย น หามิได้, ปฏิวิรุทฺโธ อาฆาตแล้ว
โพธิสตฺเตเนว กับพระโพธิสัตว์เท่านั้น,
โย ปฏิวิรุทฺโธ = ปฏิวิโรโธ (อกุสโล) อกุศลคือความอาฆาต
อันใด โพธิสตฺเตน ด้วยพระโพธิสัตว์ ตสฺส แห่งพระเทวทัตนั้น อตฺถิ
มีอยู่, โส ปฏิวิรุทฺโธ (อกุสโล) อกุศล คือ ความอาฆาตนั้น ปจฺจติ
ย่อมผเล็จ เทติ ย่อมให้ ผลํ ซึ่งผล ตสฺมิํ ตสฺมิํเยว ภเว
ในภพนั้นๆ นั่นเทียว. มหาราช มหาบพิตร พระเทวทัต ฐิโต ดำรงอยู่แล้ว อิสฺสริเย
ในความเป็นใหญ่ เทติ ย่อมให้ อารกฺขํ ซึ่งอารักขา ชนปเทสุ
ในชนบททั้งหลาย, กาเรติ ให้สร้าง เสตุํ ซึ่งสะพาน สภํ
ซึ่งที่ประชุม ปุญฺญสาลํ โรงเป็นที่ทำบุญ, เทติ ย่อมให้ ทานํ
ซึ่งทาน สมณพฺราหฺมณานํ แก่สมณพราหมณ์ทั้ืงหลาย กปณทฺธิกวณิพฺพกานํ แก่คนกำพร้าและวณิพกทั้งหลาย นาถานาถานํ แก่คนที่ทั้งมีที่พึ่ง ทั้งไร้ที่พึ่งทั้งหลาย ยถาปณิหิตํ
= ยถาอิจฺฉิตํ
ตามความปรารถนา โส เทวทตฺโต พระเทวทัตนั้น ปฏิลภติ ย่อมได้รับ สมฺปตฺติโย
ซึ่งสมบัติทั้งหลาย ภเว ภเว ในแต่ละภพ
วิปาเกน ด้วยวิบาก ตสฺส ของกรรมนั้น, มหาราช มหาบพิตร กสฺส
ใครๆ สกฺกา อาจ วตฺตุํ เพื่อกล่าว (อิติ) ว่า ปุคฺคโล
บุคคล วินา เว้น ทาเนน จากการให้ ทเมน จากศีลเครื่องฝึกตน
สํยเมน จากธรรมเครื่องสำรวม อุโปสถกมฺเมน
จากอุโบสถกรรม อนุภวิสฺสติ
จักเสวย สมฺปตฺติํ ซึ่งสมบัติ เอตํ นั่น ดังนี้ ได้หรือ ?
‘‘ยํ ปน ตฺวํ, มหาราช, เอวํ
วเทสิ ‘เทวทตฺโต จ โพธิสตฺโต จ เอกโต อนุปริวตฺตนฺตี’ติ, โส น ชาติสตสฺส อจฺจเยน สมาคโม อโหสิ, น ชาติสหสฺสสฺส อจฺจเยน, น ชาติสตสหสฺสสฺส อจฺจเยน,
กทาจิ กรหจิ พหูนํ อโหรตฺตานํ อจฺจเยน สมาคโม อโหสิ. ยํ ปเนตํ,
มหาราช, ภควตา กาณกจฺฉโปปมํ อุปทสฺสิตํ
มนุสฺสตฺตปฺปฏิลาภาย, ตถูปมํ, มหาราช,
อิเมสํ สมาคมํ ธาเรหิ.
มหาราช
มหาบพิตร ปน ก็ ตฺวํ ที่พระองค์ วเทสิ ตรัสอยู่ ยํ วจนํ ซึ่งคำใด เอวํ
อย่างนี้ (อิติ)ว่า เทวทตฺโต จ ทั้งพระเทวทัต โพธิสตฺโต จ และ พระโพธิสัตว์ อนุปริวตฺตนฺติ
ย่อมเป็นไปเนืองๆ เอกโต
โดยความเป็นอันเดียวกัน ดังนี้, โส สมาคโม การพบกันนั้น อโหสิ
ได้มีแล้ว อจฺจเยน โดยอันล่วงไป ชาติสตสฺส แห่งร้อยแห่งชาติ น
หามิได้, อจฺจเยน โดยอันล่วงไป ชาติสหสฺเสน โดยพันแห่งชาติ น
หามิได้, อจฺจเยน โดยอันล่วงไป ชาติสตสหสฺสสฺส แห่งหมื่นแห่งชาติ น
หามิได้, สมาคโม การพบกัน อจฺจเยน โดยอันล่วงไป อโหรตฺตานํ
แห่งคืนวันเป็นอันมาก อโหสิ ได้มีแล้ว กทาจิ ในบางคราว กรหจิ
บางภพ. มหาราช มหาบพิตร ปน ก็ กาณกจฺฉโปปมํ อุปมาเรื่องเต่าตาบอด
ยํ ตํ อันใด ภควตา อันพระผู้มีพระภาค อุปทสฺสิตํ ทรงแสดงเป็นแนวทางไว้
มนฺสสตฺตปฺปฏิลาภาย เพื่อการได้อัตภาพมนุษย์, มหาราช มหาบพิตร ตฺวํ
ขอพระองค์ ธาเรหิ จงทรงจำไว้ สมาคมํ ซึ่งการพบกัน อิเมสํ ของพระเทวทัตและพระโพธิสัตว์เหล่านี้
ตถูปมํ อันมีอุปมาเช่นนี้เถิด.
‘‘น, มหาราช, โพธิสตฺตสฺส
เทวทตฺเตเนว สทฺธิํ สมาคโม อโหสิ, เถโรปิ, มหาราช, สาริปุตฺโต อเนเกสุ ชาติสตสหสฺเสสุ
โพธิสตฺตสฺส ปิตา อโหสิ, มหาปิตา อโหสิ, จูฬปิตา อโหสิ, ภาตา อโหสิ,
ปุตฺโต อโหสิ, ภาคิเนยฺโย อโหสิ, มิตฺโต อโหสิ.
มหาราช
มหาบพิตร สมาคโม การพบกัน โพธิสตฺตสฺส ระหว่างพระโพธิสัตว์
สทฺธิํ กับ เทวทตฺเตเนว พระเทวทัตเท่านั้น อโหสิ ได้มีแล้ว น
หามิได้ มหาราช มหาบพิตร, เถโรปิ สาริปุตฺโต
แม้พระเถระ นามว่า สารีบุตร ปิตา เป็นบิดา อโหสิ ได้เป็นแล้ว มหาปิตา
เป็นปู่ อโหสิ ได้เป็นแล้ว จูฬปิตา เป็นอา อโหสิ
ได้เป็นแล้ว, ภาตา เป็นพี่น้องชาย
อโหสิ ได้เป็นแล้ว, ปุตฺโต เป็นบุตร อโหสิ ได้เป็นแล้ว, ภาคิเนยฺโย พี่น้องหญิง อโหสิ ได้เป็นแล้ว, มิตฺโต เป็นมิตร อโหสิ ได้เป็นแล้ว, โพธิสตฺตสฺส ของพระโพธิสัตว์ ชาติสตสหสฺเสสุ ในแสนแห่งชาติทั้งหลาย อเนเกสุ
มิใช่น้อย.
‘‘โพธิสตฺโตปิ, มหาราช, อเนเกสุ
ชาติสตสหสฺเสสุ เถรสฺส สาริปุตฺตสฺส ปิตา อโหสิ, มหาปิตา
อโหสิ, จูฬปิตา อโหสิ, ภาตา อโหสิ,
ปุตฺโต อโหสิ, ภาคิเนยฺโย อโหสิ, มิตฺโต อโหสิ,
มหาราช
มหาบพิตร โพธิสตฺโตปิ แม้พระโพธิสัตว์ ปิตา เป็นบิดา อโหสิ ได้เป็นแล้ว มหาปิตา
เป็นปู่ อโหสิ ได้เป็นแล้ว จูฬปิตา เป็นอา อโหสิ ได้เป็นแล้ว, ภาตา เป็นพี่น้องชาย อโหสิ ได้เป็นแล้ว,
ปุตฺโต เป็นบุตร อโหสิ
ได้เป็นแล้ว, ภาคิเนยฺโย พี่น้องหญิง
อโหสิ ได้เป็นแล้ว, มิตฺโต เป็นมิตร อโหสิ ได้เป็นแล้ว, เถรสฺส
สาริปุตฺตสฺส ของพระสารีบุตรเถระ ชาติสตสหสฺเสสุ
ในแสนแห่งชาติทั้งหลาย อเนเกสุ มิใช่น้อย,
สพฺเพปิ, มหาราช, สตฺตนิกายปริยาปนฺนา สํสารโสตมนุคตา
สํสารโสเตน วุยฺหนฺตา อปฺปิเยหิปิ ปิเยหิปิ สมาคจฺฉนฺติ.
มหาราช
มหาบพิตร สพฺเพปิ ชนา ชนทั้งหลายแม้ทั้งปวง สตฺตนิกายปริยาปนฺนา ผู้นับเนื่องในสัตตนิกาย สํสารโสตมนุคตา ไหลไปตามกระแสสังสารวัฏ สํสารโสเตน ถูกกระแสสังสารวัฏ วุยฺหนฺตา พัดพาไปอยู่ สมาคจฺฉนฺติ ย่อมประจวบ อปฺปิเยหิปิ กับสิ่งที่เกลียดบ้าง ปิเยหิปิ กับสิ่งที่รักบ้าง.
ยถา, มหาราช, อุทกํ โสเตน วุยฺหมานํ
สุจิอสุจิกลฺยาณปาปเกน สมาคจฺฉติ, เอวเมว โข, มหาราช, สพฺเพปิ สตฺตนิกายปริยาปนฺนา สํสารโสตมนุคตา
สํสารโสเตน วุยฺหนฺตา อปฺปิเยหิปิ ปิเยหิปิ สมาคจฺฉนฺติ.
มหาราช
มหาบพิตร เปรียบเหมือนว่า อุทกํ น้ำ โสเตน ที่กระแส วุยฺหมานํ พัดไป สมาคจฺฉติ ย่อมไหลประจวบ สุจิอสุจิกลฺยาณปาปเกน กับของสะอาดบ้าง สกปรกบ้าง ดีบ้าง เลวบ้าง ยถา ฉันใด มหาราช
มหาบพิตร สพฺเพปิ ชนา ชนทั้งหลายแม้ทั้งปวง สตฺตนิกายปริยาปนฺนา
ผู้นับเนื่องในสัตตนิกาย สํสารโสตมนุคตา
ไหลไปตามกระแสสังสารวัฏ สํสารโสเตน
ถูกกระแสสังสารวัฏ วุยฺหนฺตา
พัดพาไปอยู่ สมาคจฺฉนฺติ ก็ย่อมประจวบ
อปฺปิเยหิปิ กับสิ่งที่เกลียดบ้าง ปิเยหิปิ กับสิ่งที่รักบ้าง เอวเมว ฉันนั้นเหมือนกัน
เทวทตฺโต, มหาราช, ยกฺโข สมาโน อตฺตนา อธมฺโม ปเร อธมฺเม
นิโยเชตฺวา สตฺตปญฺญาสวสฺสโกฏิโย สฏฺฐิ จ วสฺสสตสหสฺสานิ มหานิรเย ปจฺจิ, โพธิสตฺโตปิ, มหาราช,
ยกฺโข สมาโน อตฺตนา ธมฺโม ปเร ธมฺเม
นิโยเชตฺวา สตฺตปญฺญาสวสฺสโกฏิโย สฏฺฐิ จ วสฺสสตสหสฺสานิ สคฺเค โมทิ
สพฺพกามสมงฺคี,
มหาราช
มหาบพิตร เทวทตฺโต พระเทวทัต ยกฺโข สมาโน เมื่อเป็นยักษ์ อธมฺโม
ผู้ไม่ตั้งในธรรม อตฺตนา ด้วยตน นิโยเชตฺวา ชักชวนแล้ว ปเร
ซึ่งคนอื่นทั้งหลาย อธมฺเม ไม่ให้ตั้งอยู่ในธรรม ปจฺจิ หมกไหม้แล้ว มหานิรเย
ในมหานรก สตฺตปญฺญาสวสฺสโกฏิโย สฏฺฐิ จ วสฺสสตสหสฺสานิ ตลอดโกฏิแห่งปี ๕๗ ล้าน ด้วย แห่งปีทั้งหลาย ๖ ด้วย, มหาราช
มหาบพิตร โพธิสตฺโตปิ แม้พระโพธิสัตว์ ยกฺโข สมาโน เมื่อเป็นยักษ์
ธมฺโม ผู้ตั้งอยู่ในธรรม อตฺตนา ด้วยตน นิโยเชตฺวา
ชักชวนแล้ว ปเร ซึ่งคนอื่นทั้งหลาย ธมฺเม ให้เป็นผู้ตั้งอยู่ในธรรม โมทิ
บันเทิงแล้ว สคฺเค ในสวรรค์ สพฺพกามสมงฺคี พรั่งพร้อมด้วยสิ่งที่น่าใคร่ทุกอย่าง สตฺตปญฺญาสวสฺสโกฏิโย
สฏฺฐิ จ วสฺสสตสหสฺสานิ ตลอด ๕๗ โกฏิ ๖ ล้านปี
อปิ
จ, มหาราช, เทวทตฺโต อิมสฺมิํ ภเว
พุทฺธํ อนาสาทนียมาสาทยิตฺวา สมคฺคญฺจ สงฺฆํ ภินฺทิตฺวา ปถวิํ ปาวิสิ, ตถาคโต พุชฺฌิตฺวา สพฺพธมฺเม ปรินิพฺพุโต อุปธิสงฺขเย’’ติ.
มหาราช
มหาบพิตร อปิ จ เออก็ เทวทตฺโต พระเทวทัต อนาสาทนียมาสาทยิตฺวา[5] ประทุษร้ายแล้ว พุทฺธํ ซึ่งพระพุทธเจ้า อนาสาทนียํ ผู้ไม่ควรประทุษร้าย
ภินฺทิตฺวา ทำลายแล้ว สงฺฆํ ซึ่งสงฆ์ สมคฺคญฺจ
ผู้พร้อมเพรียงกัน ปาวิสิ เข้าไปแล้ว ปถวิํ สู่แผ่นดิน, ปน
ส่วน ตถาคโต พระตถาคต พุชฺฌิตฺวา ทรงตรัสรู้แล้ว สพฺพธมฺเม ซึ่งธรรมทั้งปวง
ปรินิพฺพุโต ปรินิพพานแล้ว อุปธิสงฺขเย
เพราะความสิ้นไปแห่งอุปธิ ดังนี้
‘‘สาธุ, ภนฺเต นาคเสน, เอวเมตํ
ตถา สมฺปฏิจฺฉามี’’ติ.
มิลินฺโท
ราชา พระเจ้ามิลินท์
อาห ตรัสแล้ว อิติ ว่า ภนฺเต นาคเสน ข้าแต่พระนาคเสนผู้เจริญ
สาธุ พระคุณเจ้าวิสัชนาชอบแล้ว, อหํ ข้าพเจ้า สมฺปฏิจฺฉามิ
ยอมรับ เอตํ ซึ่งคำนั้น ตถา โดยประการที่พระคุณเจ้ากล่าวมา เอวํ อย่างนี้
ดังนี้
กุสลากุสลสมวิสมปญฺโห
สตฺตโม.
กุสลากุสลสมวิสมปญฺโห กุสลากุสลสมวิสมปัญหา
สตฺตโม ลำดับที่เจ็ด นิฏฺฐิโต จบแล้ว
***
[1] อีกนัยหนึ่ง นฏฺฐายิโก เป็นผู้สิ้นทรัพย์ มาจาก นฏฺฐ (นาส นาสเน ฉิบหาย +
ต) ฉิบหาย + อาย ทรัพย์อิก ตัพภาวะ เป็นพหุพพีหิสมาส วิ.ว่า นฏฺฐํ อายํ ยสฺส โสยํ
นฏฺฐายิโก ผู้มีอายะ (ทรัพย์) ฉิบหายแล้ว ชื่อว่า นฏฺฐายิก (นัยนิสสยะฉบับล้านนา)
[2] สัพพทาฐชาดก (ขุ.ชา.ทุก เ๒๗/๒๘๒-๑๘๓ และอรรถกถา) ในชาดกนั้น พระเทวทัต
เป็นสุนัขจิ้งจอก ผู้สามารถจำมนต์วิเศษจากพระโพธิสัตว์
ผู้ซึ่งสาธยายมนต์นั้นอยู่ในป่าไว้ได้ ครั้นท่องจำมนต์นั้นได้แล้ว จึงมีอำนาจมาก ด้วยอานุภาพของมนต์นั้น
เหิมเกริมใคร่จะยึดเมืองพาราณสี. ส่วนขัตติยธรรม น่าจะหมายถึง ความมีอำนาจมากเหนือสัตว์ป่าทั้งปวงดุจเป็นราชา
ผู้มีบริวาร จึงชื่อว่า เป็นใหญ่ในหมู่บริวาร.
พระเทวทัตยิ่งกว่าพระโพธิสัตว์โดยยศคือบริวาร ผู้เป็นปุโรหิต ไม่ใช่ราชา.
[3] โอสาเรสิ ยังเราให้ระลึกแล้ว กล่าวคือ บอกเราให้รู้ (มิลิน.ล้านนา)
[4] ปฏิวิรุทฺธ ตามศัพท์แปลว่า ไม่คล้อยตามเฉพาะ (ปติ + วิ + โรธ ธาตุ หมุน +
ต) ความหมายคือ ขัดแย้ง ซึ่งก็หมายถึง ความผูกโกรธ ในที่แปลว่า อาฆาต เพราะมีอรรถาธิบายคำนี้ว่า
อาฆาต อาฆาตหรือผูกโกรธ เมธคา ความทะเลาะ ทุฏฐ
ประทุษร้ายบ้าง, (ดูมหานิทเทส ขุ.มหา.๒๙/๗๑, ๗๙๐, ๘๐๔). อนึ่ง ธาตุที่มีอรรถว่า
กุชฺฌ คือ โกรธ จะต้องแปลเข้ากับจตุตถีวิภัตติ แปลว่า ต่อ ในที่นี้
เป็นตติยาวิภัตติ ที่มีอรรถสห (ดู.รูปสิทฺธิ การก.๒๙๖ สูตรว่า สหาทิโยเค จ)
ดังนั้น จึงแปลว่า เป็นผู้อาฆาตแล้ว กับชนทั้งปวง และ กับพระโพธิสัตว์.
[5] (พุทฺธํ) อนาสาทนียมาสาทยิตฺวา นี้ ตัดบทเป็น (พุทธํ) อนาสาทนียํ +
อาสาทยิตฺวา (อา + สท + ณฺย + ตฺวา) สท ธาตุ มีอรรถ อสฺสาทน มีอา อุปสัค เป็นบทหน้า
เป็นธาตวัตถพาธกะ มีอรรถว่า อป
มีความหมายว่า ปราศจากความชื่นชมยินดี คือ เปลี่ยนจากยินดีเป็นความชัง อาฆาต
กระทบกระทั่ง สมดังอรรถกถาหลายแห่งอธิบายบทว่า อาสาทยิตฺวา เป็น ฆตฺวา กระทบ หรือ
ทำร้าย ความหมายคือ ประทุษร้ายบ้าง
อนาทริตฺวา ไม่เอื้อเฟื้อ ไม่สนใจ บ้าง พาธติ รุกราน บ้าง เช่น อาสาทยิตฺวา
ฆเฏตฺวา อนาทรํ กตฺวา (อป.อ.๑/๕๖๓) อาสาทยิตฺวา (รุกราน) คือ กระทบกระทั่ง คือ
กระทำความไม่เอื้อเฟื้อ และ วิหิํสตีติ
พาเธติ อาสาเทติ คำว่า วิหิํสติ เท่ากับ พาเธติ อาสาเทติ เบียดเบียน คือ รุกราน
(อิติ.อ.๘๗ เทวทตฺตสุตฺตวณฺณนา) เพราะเหตุนั้น ในที่นี้ จึงแปลว่า ประทุษร้ายแล้ว
ซึ่งพระพุทธเจ้า ผู้ไม่ควรประทุษร้าย.