๒. อทฺธานวคฺโค
๑. ธมฺมสนฺตติปญฺโห
|
๒. อทฺธานวคฺโค
อ.อัทธานวรรค
๑. ธมฺมสนฺตติปฃฺโห
อ.ปัญหาเกี่ยวกับความสืบกันแห่งธรรม
|
ราชา
อ.พระราชา อาห ตรัส อิติ ว่า
นาคเสน
ข้าแต่พระนาคเสน
ภนฺเต ผู้เจริญ
โย
ทหโร
อ.เด็ก คนใด อุปฺปชฺชติ ย่อม เกิด, โส ทหโร อ.เด็ก คนนั้น อุปฺปชฺชติ ย่อมเกิด โส
ปุคฺคโล เป็นบุคคลนั้น เอว นั่นแหละ หุตฺวา เป็น, อุทาหุ
หรือว่า อฃฺโฃ ปุคฺคโล อ.บุคคลอื่น อีกคนหนึ่ง อุปฺปชฺชติ
ย่อมเกิด โส ปุคฺคโล เป็นบุคคลนั้น หุตฺวา เป็น? ดังนี้.[1]
|
|
เถโร
อาห ‘‘น จ โส,
น
จ อญฺโญ’’ติฯ
|
เถโร
อ.พระเถระ อาห กล่าว อิติ ว่า
มหาราช
ขอถวายพระพรมหาบพิตร โส ทหโร อ.เด็ก คนนั้น น อุปฺปชฺชติ ย่อมไม่เกิด
โส ปุคฺคโล เป็นบุคคลนั้น หุตฺวา เป็น จ ด้วย, อฃฺโฃ
ปุคฺคโล อ.บุคคลอื่นอีกคนหนึ่ง น อุปฺปชฺชติ ย่อมไม่เกิด โส
ปุคฺคโล เป็นบุคคลนั้น หุตฺวา เป็น จ ด้วย ดังนี้.[2]
|
‘‘โอปมฺมํ กโรหี’’ติฯ
|
ราชา
อ.พระราชา อาห ตรัส อิติ ว่า
ตฺวํ
อ.ท่าน กโรหิ ขอจงกระทำ โอปมฺมํ ซึ่งการอุปมา ดังนี้.
|
‘‘ตํ กึ มญฺญสิ, มหาราช,
ยทา
ตฺวํ ทหโร ตรุโณ มนฺโท อุตฺตานเสยฺยโก อโหสิ,
โส
เยว ตฺวํ เอตรหิ มหนฺโต’’ติ?
|
เถโร
อ.พระเถระ ปฏิปุจฺฉิ ย้อนถาม อิติ ว่า
มหาราช
ขอถวายพระพรมหาบพิตร ตฺวํ อ.มหาบพิตร มฃฺฃสิ จะคิด ตํ ซึ่งเรื่องนี้
กึ อย่างไร, (โย) ทหโร อ.เด็กคนใด ตรุโณ ผู้เยาว์ มนฺโท
ไม่รู้ความ อุตฺตานเสยฺยโก ยังนอนหงาย[3]
ตฺวํ เป็นมหาบพิตร อโหสิ
ได้เป็นแล้ว ยทา เมื่อใด, โส ทหโร เอว อ.เด็กนั้น นั่นแหละตฺวํ
เป็นมหาบพิตร มหนฺโต ซึ่งเป็นผู้ใหญ่ เอตรหิ ณ บัดนี้ หรือ?
ดังนี้.[4]
|
‘‘น หิ,
ภนฺเต, อญฺโญ โส ทหโร ตรุโณ มนฺโท
อุตฺตานเสยฺยโก อโหสิ, อญฺโญ อหํ เอตรหิ มหนฺโต’’ติฯ
|
ราชา
อ.พระราชา อาห ตรัส อิติ ว่า
ภนฺเต
ข้าแต่ท่านผู้เจริญ
หิ ก็ วจนํ อ.คำ ตว อันท่าน ปุจฺฉิตํ ถามแล้ว น
ยุตฺตํ ไม่ถูกต้อง, โส ทหโร อ.เด็กคนนั้น ตรุโณ ผู้เยาว์ มนฺโท ไม่รู้ความ
อุตฺตานเสยฺยโก ยังนอนหงาย อฃฺโฃ เป็นอีกคนหนึ่ง อโหสิ
ได้เป็นแล้ว, อฃฺโฃ อ.บุคคลอื่น อหํ เป็นข้าพเจ้า มหนฺโต ซึ่งเป็นผู้ใหญ่
เอตรหิ ณ กาลบัดนี้
อโหสิ ได้เป็นแล้ว ดังนี้.
|
‘‘เอวํ สนฺเต โข, มหาราช,
มาตาติปิ
น ภวิสฺสติ, ปิตาติปิ น ภวิสฺสติ, อาจริโยติปิ น ภวิสฺสติ, สิปฺปวาติปิ น ภวิสฺสติ, สีลวาติปิ น ภวิสฺสติ, ปญฺญวาติปิ น ภวิสฺสติฯ
|
มหาราช
ขอถวายพระพรมหาบพิตร เอวํ ครั้นเมื่อความเป็นอย่างนั้น สนฺเต
มีอยู่ โข แล มาตา อิติปิ วุตฺตา อิตฺถี แม้ อ.หญิง ผู้อันใครๆ เรียกว่า มารดา น ภวิสฺสติ จักไม่มี [6],
ปิตา อิติปิ วุตฺโต ปุริโส แม้อ.บุรุษ ผู้ใครๆเรียกว่า บิดา
ดังนี้ น ภวิสฺสติ จักไม่มี, อาจริโย อิติปิ วุตฺโต ปุคฺคโล แม้อ.บุคคล
ผู้อันใครๆเรียกว่า อาจารย์ ดังนี้ น ภวิสฺสติ จักไม่มี, สิปฺปวา
อิติปิ วุตฺโต ปุคฺคโล แม้ อ.บุคคล ผู้อันใครๆเรียกว่า ผู้มีศิลปะ ดังนี้ น
ภวิสฺสติ ก็จักไม่มี, สีลวา อิติปิ ปุคฺคโล แม้อ.บุคคล
ผู้อันใครๆเรียกว่า ผู้มีศีล ดังนี้ น ภวิสฺสติ จักไม่มี, ปฃฺฃวา อิติปิ วุตฺโต ปุคฺคโล
แม้อ.บุคคลผู้อันใครๆ เรียกว่า ผู้มีปัญญา ดังนี้ จักไม่มี.
|
กึ
นุ โข, มหาราช,
อญฺญา
เอว กลลสฺส มาตา, อญฺญา อพฺพุทสฺส มาตา, อญฺญา เปสิยา มาตา, อญฺญา ฆนสฺส มาตา, อญฺญา ขุทฺทกสฺส มาตา, อญฺญา มหนฺตสฺส มาตา, อญฺโญ สิปฺปํ สิกฺขติ, อญฺโญ สิกฺขิโต ภวติ, อญฺโญ ปาปกมฺมํ กโรติ, อญฺญสฺส หตฺถปาทา ฉิชฺชนฺตี’’ติ?
|
มหาราช
ขอถวายพระพรมหาบพิตร มาตา อ.มารดา กลลสฺส ของกลละ อฃฺฃา เอว
เป็นอีกคนหนึ่ง นั่นเทียว โหติ ย่อมเป็น, มาตา อ.มารดา อพฺพุทสฺส
ของอัพพุทะ อฃฺฃา เป็นอีกคนหนึ่ง โหติ ย่อมเป็น, มาตา อ.มารดา เปสิยา ของเปสิ อฃฺฃา
เป็นอีกคนหนึ่ง โหติ ย่อมเป็น, มาตา อ.มารดา ฆนสฺส ของฆนะ อฃฺฃา
เป็นอีกคนหนึ่ง โหติ ย่อมเป็น,[7]
มาตา
อ.มารดา ขุทฺทกสฺส
ของเด็กน้อย อฃฺฃา
เป็นอีกคนหนึ่ง โหติ ย่อมเป็น, มาตา อ.มารดา มหนฺตสฺส
ของผู้ใหญ่ อฃฺฃา เป็นอีกคนหนึ่ง โหติ ย่อมเป็น[8],
ปุคฺคโล อ.บุคคล อฃฺโฃ
อีกคนหนึ่ง สิกฺขติ ย่อมเรียน สิปฺปํ ซึ่งศิลปะ, ปุคฺคโล อ.บุคคล สิกฺขิโต ผู้เรียนสำเร็จแล้ว
อฃฺโฃ เป็นอีกคนหนึ่ง ภวติ ย่อมเป็น[9],
ปุคฺคโล อ.บุคคล อฃฺโฃ อีกคนหนึ่ง กโรติ ย่อมกระทำ ปาปกมฺมํ
ซึ่งบาปกรรม, หตฺถปาทา อ.มือและเท้าท. อฃฺฃสฺส ของคนหนึ่ง ฉิชฺชนฺติ
ย่อมขาด กึ นุ โข หรือหนอแล ? ดังนี้ [10]
|
‘‘น หิ,
ภนฺเตฯ
ตฺวํ ปน, ภนฺเต,
เอวํ วุตฺเต กึ วเทยฺยาสี’’ติ?
|
ราชา
อ.ราชา อาห ตรัสแล้ว อิติ ว่า ภนฺเต ข้าแต่ท่านผู้เจริญ
หิ ก็ เอตํ วจนํ คำ นั้น ตยา อันท่าน วุตฺตํ กล่าวแล้ว
น โหติ ย่อมเป็นหามิได้, ภนฺเต ข้าแต่ท่านผู้เจริญ ปน
แต่ว่า เอวํ ครั้นเมื่อคำเช่นนี้ มยา อันข้าพเจ้า วุตฺเต กล่าวแล้ว[11]
ตฺวํ อ.ท่าน วเทยฺยาสิ พึงกล่าว กึ วจนํ ซึ่งคำอะไร?
|
เถโร
อาห ‘‘อหญฺเญว โข, มหาราช,
ทหโร อโหสึ ตรุโณ มนฺโท
อุตฺตานเสยฺยโก, อหญฺเญว เอตรหิ มหนฺโต, อิมเมว กายํ นิสฺสาย สพฺเพ เต เอกสงฺคหิตา’’ติฯ
|
เถโร
อ.พระเถระ อาห กล่าวแล้ว อิติ ว่า มหาราช
ขอถวายพระพรมหาบพิตร อหํ เอว โข อ.อาตมภาพ นั่นเทียว แล ทหโร
เป็นเด็ก ตรุโณ อ่อน มนฺโท ไม่รู้ความ อุตฺตานเสยฺยโก นอนหงาย อโหสึ ได้เป็นแล้ว, อหํ เอว
อ.อาตมภาพนั่นแหละ มหนฺโต เป็นผู้ใหญ่ อมฺหิ ย่อมเป็น เอตรหิ
ณ บัดนี้, สพฺเพ เต อ.บุคคลท.เหล่านั้น ทั้งปวง เอกสงฺคหิตา
รวมเป็นคนเดียวกัน นิสฺสาย เพราะอาศัย อิมํ กายํ เอว
ซึ่งกายนี้นั่นเทียว” ดังนี้.[12]
|
‘‘ภิยฺโย โอปมฺมํ กโรหี’’ติฯ
|
ราชา
อ.พระราชา อาห ตรัสแล้ว อิติว่า "ตฺวํ อ.ท่าน กโรหิ
ขอจงกระทำ โอปมฺมํ ซึ่งอุปมา ภิยฺโย โดยยิ่งเถิด"ดังนี้.
|
‘‘ยถา,
มหาราช, โกจิเทว ปุริโส ปทีปํ ปทีเปยฺย, กึ โส สพฺพรตฺตึ ปทีเปยฺยา’’ติ?
|
เถโร
อ.พระเถระ อาห กล่าวแล้ว อิติ ว่า มหาราช
ขอถวายพระพรมหาบพิตร ยถา เปรียบเหมือนว่า ปุริโส อ.บุรุษ โกจิ
เอว บางคนนั่นเทียว ปทีปํ ยังประทีป ปทีเปยฺยํ พึงให้สว่างไสว, โส ปทีโป อ.ประทีปนั้น ปทีเปยฺย
พึงสว่างไสว สพฺพรตฺตึ ตลอดราตรีทั้งปวง
กึ หรือ? ดังนี้
|
‘‘อาม,
ภนฺเต, สพฺพรตฺตึ ปทีเปยฺยา’’ติฯ
|
ราชา
อ.พระราชา อาห ตรัสแล้ว อิติว่า ภนฺเต ข้าแต่ท่านผู้เจริญ อาม
ถูกแล้ว โส ปทีโป อ.ประทีบนั้น ปทีเปยฺย พึงสว่างไสว สพฺพรตฺตึ
ตลอดราตรีทั้งปวง"ดังนี้.
|
‘‘กึ นุ โข,
มหาราช, ยา ปุริเม ยาเม อจฺจิ,
สา
มชฺฌิเม ยาเม อจฺจี’’ติ?
|
เถโร
อ.พระเถระ อาห กล่าวแล้ว อิติ ว่า มหาราช ขอถวายพระพรมหาบพิตร ยา
อจฺจิ อ.เปลวไฟ ใด ยาเม ในยาม ปุริเม อันมีในก่อน อตฺถิ
มีอยู่, สา อจฺจิ อ.เปลวไฟอันนั้น
อจฺจิ เป็นเปลวไฟ ยาเม ในยาม มชฺฌิเม
อันมีในท่ามกลาง โหติ ย่อมเป็น กึ นุ โข หรือหนอแล?" ดังนี้
|
‘‘น หิ ภนฺเต’’ติฯ
|
ราชา
อ.พระราชา อาห ตรัสแล้ว อิติ ว่า ภนฺเต ข้าแต่ท่านผู้เจริญ
ยา อจฺจิ อ.เปลวไฟ ใด ยาเม ในยาม ปุริเม อันมีในก่อน อตฺถิ
มีอยู่, สา อจฺจิ อ.เปลวไฟอันนั้น
อจฺจิ เป็นเปลวไฟ ยาเม ในยาม มชฺฌิเม
อันมีในท่ามกลาง โหติ ย่อมเป็น น หามิได้." ดังนี้.
|
‘‘ยา มชฺฌิเม ยาเม อจฺจิ, สา ปจฺฉิเม ยาเม อจฺจี’’ติ?
|
เถโร
อ.พระเถระ อาห กล่าว อิติ ว่า มหาราช ขอถวายพระพรมหาบพิตร ยา อจฺจิ อ.เปลวไฟ ใด ยาเม ในยาม มชฺฌิเม
อันมีในท่ามกลาง อตฺถิ มีอยู่, สา อจฺจิ อ.เปลวไฟอันนั้น อจฺจิ เป็นเปลวไฟ ยาเม ในยาม ปจฺฉิเม
อันมีในที่สุด โหติ ย่อมเป็น กึ นุ โข หรือหนอแล?" ดังนี้
|
‘‘น หิ ภนฺเต’’ติฯ
|
ราชา
อ.พระราชา อาห ตรัส อิติ ว่า "ภนฺเต
ข้าแต่ท่านผู้เจริญ ยา อจฺจิ อ.เปลวไฟอันใด ยาเม ในยาม มชฺฌิเม
อันมีในท่ามกลาง อตฺถิ มีอยู่, สา อจฺจิ อ.เปลวไฟอันนั้น อจฺจิ เป็นเปลวไฟ ยาเม ในยาม ปจฺฉิเม อันมีในที่สุด โหติ
ย่อมเป็น น หามิได้
ดังนี้.
|
เถโร
อ.พระเถระ อาห กล่าวแล้ว อิติว่า มหาราช
ขอถวายพระพรมหาบพิตร โส
ปทีโป อ.ประทีป ยาเม ในยาม ปุริเม อันมีในเบื้องต้น อฃฺโฃ
เป็นอีกดวงหนึ่ง อโหสิ ได้เป็นแล้ว, ปทีโป อ.ประทีป ยาเม
ในยาม มชฺฌิเม อันมีในท่ามกลาง อฃฺโฃ เป็นอีกดวงหนึ่ง อโหสิ
ได้เป็นแล้ว, ปทีโป อ.ประทีป ยาเม ในยาม ปจฺฉิเม
อันมีในที่สุด อฃฺโฃ เป็นอีกดวงหนึ่ง อโหสิ ได้เป็นแล้ว กึ นุ
โข หรือหนอแล"ดังนี้?.
|
|
‘‘น หิ ภนฺเต, ตํ เยว นิสฺสาย สพฺพรตฺตึ ปทีปิโต’’ติฯ
|
ราชา
อ.พระราชา อาห กล่าวแล้ว อิติ ว่า ภนฺเต
ข้าแต่ท่านผู้เจริญ โส ปทีโป อ.ประทีป ยาเม ในยาม ปุริเม
อันมีในเบื้องต้น อฃฺโฃ เป็นอีกดวงหนึ่ง อโหสิ ได้เป็นแล้ว, ปทีโป อ.ประทีป
ยาเม ในยาม มชฺฌิเม อันมีในท่ามกลาง อฃฺโฃ เป็นอีกดวงหนึ่ง
อโหสิ ได้เป็นแล้ว, ปทีโป อ.ประทีป ยาเม ในยาม ปจฺฉิเม
อันมีในที่สุด อฃฺโฃ
เป็นอีกดวงหนึ่ง อโหสิ ได้เป็นแล้ว น หามิได้. ปทีโป อ.ประทีป ปทีปิโต
สว่างไสวแล้ว สพฺพรตฺตึ ตลอดราตรีทั้งปวง นิสฺสาย เพราะอาศัย ตํ กปลฺลวฏฺฏิเตลํ
ซึ่งตะเกียง
น้ำมันและไส้นั้น[13]
เอว
นั่นเทียว.
|
‘‘เอวเมว โข, มหาราช,
ธมฺมสนฺตติ
สนฺทหติ, อญฺโญ อุปฺปชฺชติ, อญฺโญ นิรุชฺฌติ, อปุพฺพํ อจริมํ วิย สนฺทหติ, เตน น จ โส, น จ อญฺโญ, ปุริมวิญฺญาเณ ปจฺฉิมวิญฺญาณํ สงฺคหํ
คจฺฉตี’’ติฯ
|
เถโร
อ.พระเถระ อาห กล่าว อิติ ว่า มหาราช ขอถวายพระพรมหาบพิตร ธมฺมสนฺตติ
อ.ความสืบต่อแห่งธรรม สนฺทหติ
ย่อมสืบต่อ เอวํ เอว ฉันนั้นนั่นเทียว, อฃฺโฃ ธมฺโม อ.ธรรม
อย่างหนึ่ง อุปฺปชฺชติ ย่อมเกิด, อฃฺโฃ อ.ธรรม อย่างหนึ่ง นิรุชฺฌติ
ย่อมดับไป, ธมฺโม อ.ธรรม สนฺทหติ ย่อมสืบต่อ วิย
ราวกับว่า อปุพฺพํ ไม่ก่อน อจริมํ ไม่หลัง, เตน สนฺทหเนน เพราะการสืบต่อนั้น โส
ทหโร อ.เด็กนั้น อหํ
เป็นอาตมภาพ โหติ ย่อมเป็น, อฃฺโฃ อ.บุคคลอื่นอีกคนหนึ่ง มหนฺโต
ซึ่งเป็นผู้ใหญ่ อหํ เป็นอาตมภาพ โหติ ย่อมเป็น,[14]
ปุริมวิฃฺฃาโณ อ.บุคคลผู้มีวิญญาณแรก คจฺฉติ
ย่อมถึง ปจฺฉิมวิฃฺฃาณสงฺคหํ ซึ่งการรวมกันกับผู้มีวิญญาณหลัง.[15]
|
ราชา
อ.พระราชา อาห ตรัส อิติ ว่า ตฺวํ อ.ท่าน กโรหิ
จงกระทำ โอปมฺมํ ซึ่งอุปมา ภิยฺโย โดยยิ่งเถิด ดังนี้.
|
|
|
เถโร
อ.พระเถระ อาห กล่าว อิติ ว่า มหาราช ขอถวายพระพรมหาบพิตร ขีรํ อ.นมสด ทุยฺหมานํ ที่ถูกรีดมา
ปริวตฺตยฺย พึงแปรรูป ทธิ เป็นนมส้ม หุตฺวา เป็น กาลนฺตเรน
โดยลำดับแห่งกาล นวนีตํ อ.เนยสด ปริวตฺเตยฺย พึงแปรรูป ทธิโต
จากนมส้ม, ฆตํ อ.เนยใส ปริวตฺเตยฺย
พึงแปรรูป นวนีตโต จากเนยสด,
|
โย
นุ โข, มหาราช,
เอวํ
วเทยฺย ‘ยํ เยว ขีรํ ตํ เยว ทธิ, ยํ เยว ทธิ ตํ เยว นวนีตํ, ยํ เยว นวนีตํ ตํ เยว ฆต’นฺติ,
|
มหาราช
ขอถวายพระพรมหาบพิตร โย ปุคฺคโล อ.บุคคลใด นุ โข หนอแล วเทยฺย พึงกล่าว เอวํ อย่างนี้
อิติ ว่า ยํ ขีรํ อ.นมสดใด เอว นั่นเทียว, ตํ ขีรํ อ.นมสดนั้น
เอว นั่นเทียว ทธิ เป็นนมส้ม โหติ ย่อมเป็น, ยํ ทธิ
อ.นมส้มใด เอว นั่นเทียว, ตํ ทธิ อ.นมส้มนั้น เอว นั่นเทียว นวนีตํ เป็นเนยสด, ยํ นวนีตํ อ.เนยสดใด เอว
นั่นเทียว, ตํ นวนีตํ อ.เนยสดนั้น เอว นั่นเทียว ฆตํ
เป็นเนยใส โหติ ย่อมเป็น ดังนี้,
|
สมฺมา
นุ โข โส, มหาราช,
วทมาโน วเทยฺยา’’ติ
|
มหาราช
ขอถวายพระพร มหาบพิตร โส ปุคฺคโล อ.บุคคลนั้น
วทมาโน ผู้กล่าว (เอวํ
อย่างนี้) วเทยฺย ชื่อว่า
พึงกล่าว สมฺมา ถูกต้อง นุ โข หรือหนอแล ดังนี้
|
‘‘น หิ ภนฺเต, ตํเยว นิสฺสาย สมฺภูต’’นฺติฯ
|
ราชา
อ.พระราชา อาห ตรัสแล้ว อิติ ว่า ภนฺเต ข้าแต่ท่านผู้เจริญ
หิ ก็ เอตํ วจนํ อ. คำนั้น วุตฺตํ เป็นคำอันเขากล่าวแล้ว น
สมฺมา โดยชอบ หามิได้ โหติ ย่อมเป็น, ทธิ จ อ.นมส้มด้วย นวนีตํ
จ อ.เนยสด ด้วย ฆตํ จ อ.เนยใส
ด้วย สมฺภูตํ เกิดขึ้นพร้อมแล้ว นิสฺสาย เพราะอาศัย ตํ ขีรํ
เอว ซึ่งนมสดนั้นนั่นเทียว ดังนี้.
|
‘‘เอวเมว โข, มหาราช,
ธมฺมสนฺตติ
สนฺทหติ, อญฺโญ อุปฺปชฺชติ, อญฺโญ นิรุชฺฌติ, อปุพฺพํ อจริมํ วิย สนฺทหติ,
|
เถโร
อ.พระเถระ
อาห กล่าว อิติ ว่า มหาราช
ขอถวายพระพรมหาบพิตร, อฃฺโฃ
ธมฺโม อ.ธรรม อย่างหนึ่ง อุปฺปชฺชติ ย่อมเกิด, อฃฺโฃ ธมฺโม อ.ธรรมอย่างหนึ่ง
นิรุชฺฌติ ย่อมดับไป, ธมฺโม
อ.ธรรม สนฺทหติ
ย่อมสืบต่อ วิย ราวกับว่า อปุพฺพํ ไม่ก่อน อจริมํ ไม่หลัง,
|
เตน
น จ โส, น จ อญฺโญ, ปุริมวิญฺญาเณ ปจฺฉิมวิญฺญาณํ สงฺคหํ คจฺฉตี’’ติ
|
เตน
สนฺทหเนน เพราะการสืบต่อนั้น
โส ทหโร อ.เด็กนั้น อหํ เป็นอาตมภาพ โหติ ย่อมเป็น, อฃฺโฃ
อ.บุคคลอื่นอีกคนหนึ่ง มหนฺโต ซึ่งเป็นผู้ใหญ่ อหํ เป็นอาตมภาพ โหติ
ย่อมเป็น, ปุริมวิฃฺฃาโณ อ.บุคคลผู้มีวิญญาณแรก คจฺฉติ ย่อมถึง ปจฺฉิม-วิฃฺฃาณสงฺคหํ
ซึ่งการรวมกันกับผู้มีวิญญาณหลัง ดังนี้.
|
‘‘กลฺโลสิ,
ภนฺเต
นาคเสนา’’ติ
|
ราชา
อ.พระราชา อโวจ ได้ตรัสแล้ว อิติ ว่า นาคเสน ข้าแต่พระนาคเสน ภนฺเต ผู้เจริญ, ตฺวํ อ.ท่าน กลฺโล เป็นผู้สามารถแก้ปัญหา
อสิ ย่อมเป็น” ดังนี้.
|
ธมฺมสนฺตติปญฺโห ปฐโมฯ
|
ธมฺมสนฺตติปฃฺโห
อ.ปัญหาเกี่ยวกับการสืบต่อแห่งธรรม
ปฅโม
ที่ ๑ นิฏฺฅิโต จบแล้ว.
|
[1]
หมายความว่า เด็กคนที่เกิดมานั่นเอง เป็นคนเดียวกับผู้ใหญ่ในปัจจุบัน,
หรือมีคนอื่น อีกคนหนึ่งที่มาเป็นผู้ใหญ่ในปัจจุบัน. ส่วนอรรถกถาประกอบความโดยใช้พระนาคเสนเองเป็นตัวสื่อว่า “โย ทหโร อ.เด็ก คนใด อุปฺปชฺชติ
ย่อมเกิด อายสฺมา นาคเสโน เป็นท่านพระนาคเสน, โส ทหโร อ.เด็ก คนนั้น เอว
นั่นแหละ อุปฺปชฺชติ ย่อมเกิด อายสฺมา นาคเสโน เป็นพระนาคเสน (หุตฺวา
เป็น) เอตรหิ ณ บัดนี้ กึ หรือ, อุทาหุ หรือว่า มหนฺโต อ. บุรุษผู้ใหญ่ อฃฺโฃ อีกคนหนึ่ง เอว
นั่นเทียว อุปฺปชฺชติ ย่อมบังเกิด อายสฺมา
นาคเสโน เป็นพระนาคเสน (หุตฺวา เป็น) เอตรหิ ณ บัดนี้.
ความก็ว่า ผู้ใหญ่นาคเสนในปัจจุบันเป็นคนเดียวกับเด็กนาคเสนในอดีตใช่หรือไม่.
[2] หมายความว่า
เด็กคนนั้นเกิดเป็นผู้ใหญ่ ณ ปัจจุบันนี้ ก็ไม่ใช่, ทั้งจะมีผู้ใหญ่อีกคนหนึ่ง ที่เกิดเป็นผู้ใหญ่
ณ ปัจจุบัน ก็ไม่ใช่อีกเช่นกัน. ส่วนอรรถกถาประกอบความว่า อหํ อ.อาตมภาพ น
วทามิ มิได้กล่าว อิติ เอวํ ปิ แม้อย่างนี้ว่า โส ทหโร เอว อ.เด็กคนนั้นนั่นแหละ อหํ
(หุตฺวา) โข อุปฺปชฺชติ ย่อมเกิดเป็นอาตมภาพแล เอตรหิ ณ บัดนี้ ดังนี้ จ
ด้วย, น วทามิ จ อีกทั้งไม่ได้กล่าว อิติ เอวํ ปิ
แม้เช่นนี้ว่า อฃฺโฃ มหนฺโต เอว อ.บุรุษผู้ใหญ่อื่นอีกคนหนึ่งนั่นเทียว อหํ
โข (หุตฺวา) อุปฺปชฺชติ ย่อมเกิด เป็นอาตมภาพ แล เอตรหิ ณ บัดนี้
ดังนี้ ด้วย. อธิบายเพิ่มเติมได้ว่า เด็กและผู้ใหญ่นั้น ซึ่งเป็นคนละบุคคล
แต่อาศัยกายเดียวกันนี้แหละ
ได้ดับไปแล้วและเกิดขึ้นใหม่สืบต่อกันมาและเข้าถึงความเป็นบุคคลเดียวกัน.
ก็ความสืบต่อกันประหนึ่งว่าไม่ก่อนไม่หลังนั่นแหละ ได้โวหารบัญญัติว่า “วัย”
เพราะเหตุนั้น พระเถระจึงวิสัชชนาว่า
เด็กคนนั้นจะเป็นอาตมาภาพก็ไม่ใช่ ผู้ใหญ่อีกคนหนึ่ง จะเป็นอาตมาภาพ ณ
บัดนี้ ก็ไม่ใช่.
[3]
อุตฺตานเสยฺยโก นอนหงาย ความว่า นอนแบ, ตรุโณ
มนฺโท อุตฺตานเสยฺยโก ๓ ศัพท์นี้เป็นไวพจน์ของ ทหร ศัพท์
[4]
เมื่อพระราชากล่าวว่า พระคุณเจ้าจงอุปมา
ดังนี้แล้ว ก่อนจะทำอุปมา พระเถระคิดว่า “ด้วยคำเพียงว่า เด็กเป็นอีกคนหนึ่ง
ก็หามิได้ เป็นต้น เป็นการปฏิเสธโดยสังเขปแล้ว ดังนี้, ด้วยเหตุนี้
ท่านประสงค์จะเปิดเผยลัทธิอันควรคัดค้านของพระราชาเป็นอย่างยิ่ง โดยพิศดาร
เสียก่อนจึงได้ย้อนถามว่า มหาบพิตร พระองค์คิดว่าอย่างไร,
เด็กน้อยไม่เดียงสาผู้ยังนอนแบอยู่นั้น เคยเป็นพระองค์มาก่อน, ถึงเด็กคนนั้น
ก็เป็นพระองค์ ในปัจจุบันนี้กระนั้นหรือ?.
[5]
ข้อความนี้เป็นคำคัดค้านลัทธิความเห็นของพระราชาข้างต้นนั้นโดยพิศดาร
[6]
ถ้าเด็กเป็นอีกคนหนึ่ง,
ผู้ใหญ่เป็นอีกคนหนึ่งแล้วไซร้, ครั้นความสืบต่อแห่งธรรม (ที่เป็นโวหารว่าวัย) ขาดไป,
ด้วยการกำหนดแยกเป็นแต่ละคนๆ ในภพเดียวกันอย่างนี้ ก็จะไม่มีมารดาของบุตร.
[7]
ข้อความนี้เป็นคำกล่าวถึง
ลำดับขั้นตอนความเกิดขึ้นแห่งอัตภาพของสัตว์ ด้วยอำนาจความเติบโตไปตามวัย
เริ่มแต่ปฏิสนธิจนเกิดอวัยวะมีมือเท้าเป็นต้นบริบูรณ์ ดังพระบาฬีว่า ปฅมํ กลลํ
โหติ, กลลา โหติ อพฺพุทํ, อพฺพุทา ชายเต เปสิ, เปสิ นิพฺพตฺติ ฆโน, ฆนา ปสาขา
ชายนฺติ, เก สา โลมา นขาปิ จ, ยฃฺจสฺส ภุฃฺชติ มาตา, อนฺนํ ปานฃฺจ โภชนํ, เตน โส ตตฺถ ยาเปติ,
มาตุกุจฺฉิคฺคโต นโร แปลความว่า แรกเกิดเป็นกลละ ต่อจากกลละเป็นอัพพุทะ
ต่อจากอัพพุทะ ก็เกิดเปสิ ต่อจากเปสิ ก็เกิดฆนะ, ต่อจากฆนะ ก็เกิดปัญจสาขา ทั้งผม
ขนและเล็บ. อนึ่ง มารดาของสัตว์ผู้นั้น บริโภคอาหารคือข้าวและน้ำใด สัตว์ผู้อยู่ในท้องของมารดานั้น
ย่อมเป็นไปในท้องของมารดานั้น ด้วยอาหารที่มารดาบริโภคนั้น.
(ความจริงเป็นคาถา
แต่ในที่นี้เขียนไว้ในรูปร้อยกรองเพื่อประหยัดหน้ากระดาษ)
คำว่า กลละ ได้แก่
รูปที่เป็นเพียงน้ำใสๆ มีประมาณเท่าน้ำมันงาใส อันเปื้อนอยู่ที่ปลายขนแกะ,
ต่อมามีปริมาณมากขึ้นและขุ่นขึ้น มีสีเหมือนน้ำล้างเนื้อ เรียกว่า อัพพุทะ.
เปสิ ได้แก่ รูปที่แข็งตัวขึ้นจนเป็นวุ้นเป็นชิ้นขึ้น มักเรียกว่า
ก้อนเลือด, จากเปสินั้นนั่นแหละ มีวัยเจริญเติบโตต่อไปอีก จนเป็นก้อนเนื้อเรียกว่า
ฆนะ ภายหลังต่อจากนั้น ก็เป็นปัญจสาขา (สาขา ๕) คือ มือ ๒ เท้า ๒
ศีรษะ ๑ ก็ปรากฏขึ้น
เป็นอยู่ด้วยอาหารที่มารดากลืนกินซึ่งแผ่ซ่านอยู่ในตัวของมารดา
และอาหารที่ถูกส่งไปทางสายสะดือ จนกว่าจะคลอดจากครรภ์.
[8]
หมายความว่า เมื่อถือเอาโดยการแยกเป็นแต่ละคน
มารดาของผู้ที่เป็นกลละ ก็จะเป็นอีกคนหนึ่ง มิได้เป็นมารดาของอัพพุทะ,
มารดาของอัพพุทะ ก็จะเป็นอีกคนหนึ่ง มิใช่ของเปสิ, มารดาของเปสิ เป็นอีกคนหนึ่ง
มิใช่ชองฆนะ, มารดาของฆนะ ก็จะเป็นอีกคนหนึ่ง, ว่าโดยวัย มารดาของผู้ยังเด็กเล็ก
ก็เป็นอีกคนหนึ่ง มิใช่ของผู้ใหญ่, มารดาของผู้ใหญ่ ก็เป็นอีกผู้หนึ่ง
มิใช่เป็นของผู้ยังเด็กเล็ก,
ขยายความว่า
เมื่อเป็นคนละคนกันอย่างนี้ แม้ผู้ที่บุตรจะพึงเรียกว่า มารดา ก็จักไม่มี
เพราะในภพเดียวกัน ในคราวที่ยังเป็นเพียงกละ ก็มีมารดาคนหนึ่ง
เมื่อความเป็นกลละหมดไป ถึงความเป็นอัพพุทะ ก็มีมารดาอีกคนหนึ่ง เพราะในคราวนี้
เมื่อเป็นอัพพุทะ ก็ไม่ใช่บุตรของมารดาผู้เป็นเพียงกลละ เมื่อเป็นอย่างนี้
สัตว์ผู้เกิดในครรภ์ จะพึงนับเอาใครว่า เป็นมารดาตนสักคนเล่า ก็เป็นอันว่า
แม้มารดาก็จักไม่มี. ส่วนคำที่เหลือก็มีนัยนี้.
[9]
เมื่อถือเอาโดยแยกจากกันเป็นคนละคน,
บุคคลคนเดียวกัน จะกลายเป็นว่า คนหนึ่งเล่าเรียน แต่ไม่เป็นผู้เรียนสำเร็จ,
คนหนึ่งเป็นผู้เรียนสำเร็จแต่ไม่ได้เล่าเรียน.
[10]
เมื่อถือเอาโดยแยกเป็นคนละคน
แม้บุคคลคนเดียวกัน ในภพเดียวกัน ,
อีกคนหนึ่งทำบาปกรรมอันเป็นทิฏฐธรรมเวทนียะ,แต่มือเท้าของผู้นั้น
จะได้ขาดไปเพราะกรรมนั้นเป็นปัจจัยก็หามิได้, ก็จะกลายเป็นว่า
มือเท้าของอีกคนหนึ่ง ย่อมขาดไป เพราะมีบาปกรรมนั้นเป็นปัจจัย, บุคคลผู้นั้น จะได้ชื่อว่า ทำบาปกรรมหามิได้
(คือ ผู้ที่ทำไม่ถูกลงโทษ, ส่วนที่ถูกลงโทษไม่ได้ทำ เพราะถือว่าเป็นคนละคนกัน) หรืออย่างไร
มหาบพิตร ดังนี้
[11]
ประกอบความว่า
วจเน ครั้นเมื่อคำว่า ยทา ในกาลใด ทหโร ตรุโณ มนฺโท
อุตฺตานเสยฺยโก เด็ก อ่อน ไม่รู้ความ ยังนอนหงาย ตฺวํ เป็นท่าน อโหสิ
ได้เป็นแล้ว, โส ทหโร เอว เด็กคนนั้น ตฺวํ เป็นท่าน มหนฺโต
ผู้ใหญ่ เอตรหิ ณ บัดนี้ หรือ
ดังนี้ มยา จ อันข้าพเจ้า ก็ดี เกนจิปิ จ แม้อันผู้หนึ่งผู้ใด ก็ดี วุตฺเต กล่าวแล้ว
ปุจฺฉนวเสน ด้วยอำนาจคำถาม, ตฺวํ อ.ท่าน วเทยฺยาสิ พึงกล่าว กึ
ซึ่งคำอะไร (ท่านจะตอบอย่างไร)?
[12]
ความว่า
เด็กและผู้ใหญ่ถึงความเป็นคนเดียวกัน
ด้วยอาศัยธรรมสันตติที่สืบต่อกันอยู่ในกายเดียวกันนี้.
[13]
โยคมาตามนัยของอรรถกถา. ความว่า เปลวไฟที่ลุกโพลงตลอดราตรีต่างก็อาศัยตะเกียง
น้ำมันและไส้ปัจจัยเหล่านี้ที่ประชุมกันเข้าเป็นโคมประทีป เปรียบได้กับบุคคลทุกวัย
ล้วนต้องอาศัยธรรมอันประชุมกันที่เรียกว่ากายนี้ทั้งสิ้น.
[14]
ประกอบความตามอรรถกถา ความว่า เพราะการสืบต่อกัน
เด็กน้อย ไม่ได้เป็นอีกคนหนึ่ง, ผู้ใหญ่ ก็มิได้เป็นอีกคนหนึ่ง. ความจริง
เด็กน้อยในเยาว์วัย ก็เป็นอีกคนหนึ่ง ซึ่งดับไปแล้ว แม้ผู้ใหญ่
ก็เป็นอีกคนหนึ่งก็เกิดขึ้น แต่อาศัยความสืบต่อแห่งธรรม จึงเป็นเหมือนกับว่า
เป็นบุคคลคนเดียวกันซึ่งเกิดขึ้นอยู่ในขณะเดียวกัน
[15]
ปาฐะในอรรถกถาเป็น ปุริมวิฃฺฃาโณ ปจฺฉิมวิฃฺฃาณสงฺคหํ
คจฺฉติ, ในมิลินทปัญหานิสสยะพม่าเป็น ปุริมวิฃฺฃาโณ ปจฺฉิมวิฃฺฃาณํ สงฺคหํ,
ฉบับของไทยเป็น
ปจฺฉิมวิฺาณสงฺคห คจฺฉติ.
ในที่นี้แปลตามปาฐะในอรรถกถา.
มีอธิบายตามอรรถกถานั้นว่า
ผู้มีวิญญาณแรก คือ เด็ก, ส่วนผู้มีวิญญาณหลัง คือ ผู้ใหญ่. ผู้อยู่ในวัยเด็ก ย่อมถึงการรวมกันเป็นคนเดียวกับผู้ที่อยู่ในวัยผู้ใหญ่.
จึงได้ข้อสรุปว่า จิตหรือนามธรรมสืบต่อกันไปโดยอาศัยรูปธรรม ส่วนคำว่า ผู้ใหญ่หรือเด็กนั้น
เป็นคำกล่าวโดยโวหารบัญญัติว่าวัย.
ไม่มีความคิดเห็น:
แสดงความคิดเห็น