วันพุธที่ 25 พฤษภาคม พ.ศ. 2559

มหาชนกอรรถกถา ๓

ตสฺส เตเชน สกฺกสฺส ภวนํ กมฺปิฯ สกฺโก อาวชฺเชนฺโต ตํ การณํ ญตฺวา ‘‘ตสฺสา กุจฺฉิยํ นิพฺพตฺตสตฺโต มหาปุญฺโญ, มยา คนฺตุํ วฏฺฏตี’’ติ จินฺเตตฺวา ปฏิจฺฉนฺนโยคฺคํ มาเปตฺวา ตตฺถ มญฺจํ ปญฺญาเปตฺวา มหลฺลกปุริโส วิย โยคฺคํ ปาเชนฺโต ตาย นิสินฺนสาลาย ทฺวาเร ฐตฺวา ‘‘กาลจมฺปานครํ คมิกา นาม อตฺถี’’ติ ปุจฺฉิฯ ‘‘อหํ, ตาต, คมิสฺสามี’’ติฯ ‘‘เตน หิ โยคฺคํ อารุยฺห  นิสีท, อมฺมา’’ติฯ ‘‘ตาต, อหํ ปริปุณฺณคพฺภา, น สกฺกา มยา โยคฺคํ อภิรุหิตุํ, ปจฺฉโต ปจฺฉโต คมิสฺสามิ, อิมิสฺสา ปน เม ปจฺฉิยา โอกาสํ เทหี’’ติฯ ‘‘อมฺม, กิํ วเทสิ, โยคฺคํ ปาเชตุํ  ชานนสมตฺโถ นาม มยา สทิโส นตฺถิฯ อมฺม, มา ภายิ, อารุยฺห นิสีทา’’ติฯ สา ‘‘ตาต, สาธู’’ติ วทติฯ โส ตสฺสา อาโรหนกาเล อตฺตโน อานุภาเวน วาตปุณฺณภสฺตจมฺมํ วิย ปถวิํ อุนฺนาเมตฺวา โยคฺคสฺส ปจฺฉิมนฺเต ปหราเปสิฯ สา อภิรุยฺห สยเน นิปชฺชิตฺวาว ‘‘อยํ เทวตา ภวิสฺสตี’’ติ  อญฺญาสิฯ สา ทิพฺพสยเน นิปนฺนมตฺตาว นิทฺทํ โอกฺกมิฯ

ภวนํ ภพเป็นที่ประทับอยู่ สกฺกสฺส ของท้าวสักกะ กมฺปิ หวั่นไหวแล้ว เตเชน ด้วยเดช ตสฺส ของพระมหาสัตว์นั้น. สกฺโก ท้าวสักกะ อาวชฺเชนฺโต ทรงใคร่ครวญอยู่ ญตฺวา ทรงทราบแล้ว ตํ การณํ ซึ่งเหตุการณ์นั้น จินฺเตตฺวา ทรงทราบแล้ว อิติ ว่า นิพฺพตฺตสตฺโต สัตว์ผู้บังเกิดแล้ว กุจฺฉิยํ ในท้อง ตสฺสา แห่งพระเทวีนั้น มหาปุญฺโญ เป็นผู้มีบุญมาก โหติ ย่อมเป็น, มยา คนฺตุ การที่เราไป วฏฺฏติ ย่อมควร ดังนี้ มาเปตฺวา ทรงเนรมิตแล้ว ปฏิจฺฉนฺนโยคฺคํ ซึ่งรถอันปกปิดแล้ว (รถเก๋ง, รถประทุน) ปญฺญาเปตฺวา ปูลาดแล้ว มญฺจํ ซึ่งเตียง  ตตฺถ บนรถนั้น มหลฺลกปุริโส วิย ผู้ราวกับว่า บุรุษผู้แก่ ปาเชนฺโต ขับไปอยู่ โยคฺคํ ซึ่งรถ ฐตฺวา ยืนแล้ว ทฺวาเร ใกล้ประตู ตาย นิสินฺนสาลาย แห่งศาลาอันพระเทวีนั้นประทับนั่งแล้ว ปุจฺฉิ ตรัสถามแล้ว อิติ ว่า คมิกา นาม ชื่อว่า บุคคลผู้ไป กาลจมฺปานครํ สู่เมืองกาลจัมปา อตฺถิ มีอยู่ หรือ ? ดังนี้.  สา เทวี พระเทวีนั้น อาห ตรัสแล้ว อิติ ว่า ตาต แน่ะพ่อ อหํ ดิฉัน คมิสฺสามิ จักไป ดังนี้. สกฺโก ท้าวสักกะ อาห ตรัสแล้ว อิติ ว่า อมฺม แน่ะแม่ เตนหิ ถ้าอย่างนั้น ตฺวํ เธอ อารุยฺห ขึ้นแล้ว โยคฺคํ สู่รถ นิสีท จงนั่งเถิด ดังนี้.  สา เทวี พระเทวีนั้น อาห ตรัสแล้ว อิติ ว่า ตาต แน่ะพ่อ อหํ ดิฉัน ปริปุณฺณคพฺภา เป็นหญิงมีสัตว์ผู้เกิดแล้วในครรภ์อันเต็มรอบแล้ว, มยา ดิฉัน น สกฺกา ไม่อาจา อภิรุหิตุ– เพื่ออันขึ้น โยคฺคํ สู่รถ, อหํ ดิฉัน คมิสฺสามิ จักไป ปจฺฉโต ปจฺฉโต ข้างหลังๆ, ปน แต่ว่า ตฺวํ ท่าน เทหิ จงให้ โอกาสํ ซึ่งที่ว่าง ปจฺฉิยา แก่ตะกร้า อิมิสฺสา นี้ เม ของดิฉัน ดังนี้. สกฺโก ท้าวสักกะ อาห ตรัสแล้ว อิติ ว่า อมฺม แน่ะแม่ ตฺวํ ท่าน วเทสิ ย่อมกล่าว กึ ซึ่งคำอะไร, ชานนสมตฺโถ นาม ชื่อว่า  บุคคลผู้สามารถในการรู้ ปาเชตุ– เพื่ออันขับ โยคฺคํ ซึ่งรถ สทิโส ผู้อันบุคคลอื่นพึงเห็นเสมอ มยา กับด้วยเรา  นตฺถิ ย่อมไม่มี. อมฺม แน่ะแม่ ตฺวํ เธอ มา ภายิ อย่ากลัวแล้ว, อารุยฺห นิสีท จงขึ้นมาแล้วนั่งเถิด ดังนี้. สา เทวี พระเทวีนั้น อาห ตรัสแล้ว อิติ ว่า ตาต แน่ะพ่อ สาธุ ดีละ ดังนี้. อาโรหนกาเล ในกาลเป็นที่เสด็จขึ้นไป ตสฺสา แห่งพระเทวีนั้น โส ท้าวสักกะนั้น ปถวึ ยังแผ่นดิน วิย ให้เป็นราวกับว่า วาตปุณฺณภสฺตจมฺมํ  ถุงหนังอันเต็มแล้วด้วยลม อุนฺนาเมตฺวา ปหราเปสิ ให้น้อมขึ้นไปกระทบแล้ว ปจฺฉิมนฺเต ที่ส่วนอันมีในข้างหลัง โยคฺคสฺส แห่งรถ อานุภาเวน ด้วยอานุภาพ อตฺตโน ของพระองค์. สา พระเทวีนั้น อารุยฺห เสด็จขึ้นแล้ว นิปชฺชิตฺวา ว ทรงบรรทมแล้วเทียว สยเน บนที่พระบรรทม อญฺญาสิ ได้ทรงทราบแล้ว อิติ ว่า อยํ บุรุษนี้ เทวตา เป็นเทวดา ภวิสฺสติ จักเป็น ดังนี้. สา พระเทวีนั้น นิปนฺนมตฺตา ว ผู้สักว่านอนแล้วเทียว ทิพฺพสยเน บนที่บรรทมอันเป็นทิพย์ โอกฺกมิ ก้าวลงแล้ว นิทฺทํ สู่ความหลับ.

ไม่มีความคิดเห็น:

แสดงความคิดเห็น