๑๒. วีริยลกฺขณปญฺโห
๑๒. วีริยลกฺขณปฃฺโห
อ.ปัญหาเกี่ยวกับลักษณะของวิริยะ
๑๒. ราชา พระราชา อาห
ตรัส อิติ ว่า ภนฺเต นาคเสน พระคุณเจ้านาคเสน, วีริยํ วิริยะ กึลกฺขณํ มีอะไรเป็นลักษณะเล่า? ดังนี้.
‘‘อุปตฺถมฺภนลกฺขณํ มหาราช วีริยํ วีริยูปตฺถมฺภิตา สพฺเพ กุสลา ธมฺมา น ปริหายนฺตี’’ติฯ
เถโร พระเถระ
วิสชฺเชสิ วิสัชชนา อิติ
ว่า มหาราช ขอถวายพระพรมหาบพิตร วีริยํ วิริยะ อุปตฺถมฺภนลกฺขณํ มีการค้ำจุนเป็นลักษณะ, ธมฺมา อ.ธรรมท. กุสลา
อันเป็นกุศล สพฺเพ ทั้งปวง วีริยูปตฺถมฺภิตา มีวิริยะอันค้ำจุนแล้ว น
ปริหายนฺติ ย่อมไม่เสื่อม” ดังนี้.
‘‘โอปมฺมํ
กโรหี’’ติฯ
ราชา พระราชา
อาห ตรัสแล้ว อิติ ว่า ตฺวํ ท่าน กโรหิ จงทำ โอปมฺมํ
ซึ่งอุปมา ดังนี้.
‘‘ยถา, มหาราช, ปุริโส
เคเห ปตนฺเต อญฺเญน ทารุนา อุปตฺถมฺเภยฺย, อุปตฺถมฺภิตํ
สนฺตํ เอวํ ตํ เคหํ น ปเตยฺยฯ
เถโร พระเถระ
อาห ถวายพระพรแล้ว อิติ ว่า มหาราช ขอถวายพระพรมหาบพิตร เคเห
เมื่อเรือน ปตนฺเต จะล้ม ปุริโส บุรุษ อุปตฺถมฺเภยฺย พึงค้ำ
ทารุนา ด้วยไม้ อฃฺเฃน อีกอันหนึ่ง, ตํ เคหํ อ.เรือน ทารุนา
อุปตฺถมฺภิตํ เป็นเรือนอันไม้ค้ำแล้ว สนฺตํ มีอยู่ เอวํ อย่างนี้ น
ปเตยฺย ไม่พึงล้ม ยถา ฉันใด
เอวเมว โข, มหาราช, อุปตฺถมฺภนลกฺขณํ
วีริยํ, วีริยูปตฺถมฺภิตา สพฺเพ กุสลา ธมฺมา น ปริหายนฺตี’’ติฯ
มหาราช มหาบพิตร
วีริยํ วิริยะ อุปตฺถมฺภนลกฺขณํ มีการค้ำจุนเป็นลักษณะ, ธมฺมา ธรรมท. กุสลา อันเป็นกุศล สพฺเพ ทั้งปวง วีริยูปตฺถมฺภิตา
มีวิริยะอันค้ำจุนแล้ว น ปริหายนฺติ
ย่อมไม่เสื่อม เอวํ เอว โข ฉันนั้น นั่นเทียว แล” ดังนี้.[1]
‘‘ภิยฺโย
โอปมฺมํ กโรหี’’ติฯ
ราชา พระราชา
อาห ตรัส อิติ ว่า ตฺวํ ท่าน กโรหิ จงทำ โอปมฺมํ
ซึ่งอุปมา ภิยฺโย โดยยิ่งดังนี้.
‘‘ยถา, มหาราช, ปริตฺตกํ
เสนํ มหตี เสนา ภญฺเชยฺย, ตโต ราชา อญฺญมญฺญํ อนุสฺสาเรยฺย อนุเปเสยฺย อตฺตโน ปริตฺตกาย เสนาย พลํ อนุปทํ ทเทยฺย, ตาย
สทฺธึ ปริตฺตกา เสนา มหตึ เสนํ ภญฺเชยฺยฯ
เถโร
อ.พระเถระ อาห ถวายพระพรแล้ว อิติ ว่า มหาราช
ขอถวายพระพรมหาบพิตร เสนา อ.กองทัพ มหตี ใหญ่ ภฃฺเชยฺย พึงตี
เสนํ ซึ่งกองทัพ ปริตฺตกํ มีพลน้อยได้, ตโต เพราะเหตุนั้น ราชา
อ.พระราชา [ปริตฺตกํ เสนํ] ยังกองทัพมีพลน้อย อฃฺฃํ
อีกพวกหนึ่ง อนุสฺสาเรยฺย
พึงให้ไปเนืองๆ[2] [ปริตฺตกํ เสนํ] สู่กองทัพมีพลน้อย อฃฺฃํ อีกพวกหนึ่ง, อนุเปเสยฺย พึงส่งตามไป[3] ทเทยฺย พึงให้ อนุปทํ เพิ่ม พลํ
ซึ่งกำลัง เสนาย แห่งกองทัพ ปริตฺตกาย
มีพลน้อย อตฺตโน ของพระองค์.[4] เสนา
อ.กองทัพ ปริตฺตกา มีพลน้อย สทฺธึ พร้อม เสนาย ด้วยกองทัพ [อฃฺฃาย ปริตฺตกาย] มีพลน้อย อีกพวกหนึ่ง ตาย นั้น[5] ภฃฺเชยฺย
พึงตี เสนํ ซึ่งกองทัพ มหตึ ทัพใหญ่ได้ ยถา
ฉันใด,
เอวเมว โข, มหาราช, อุปตฺถมฺภนลกฺขณํ
วีริยํ, วีริยูปตฺถมฺภิตา สพฺเพ กุสลา ธมฺมา น
ปริหายนฺติฯ
มหาราช
ขอถวายพระพรมหาบพิตร วีริยํ วิริยะ อุปตฺถมฺภนลกฺขณํ มีการค้ำจุนเป็นลักษณะ, ธมฺมา อ.ธรรมท. กุสลา อันเป็นกุศล สพฺเพ ทั้งปวง วีริยูปตฺถมฺภิตา มีวิริยะอันค้ำจุนแล้ว น
ปริหายนฺติ
ย่อมไม่เสื่อม เอวํ เอว โข ฉันนั้น นั่นเทียว แล[6]
ภาสิตมฺเปตํ, มหาราช,
ภควตา
– ‘วีริยวา โข,
ภิกฺขเว, อริยสาวโก
อกุสลํ ปชหติ, กุสลํ ภาเวติฯ สาวชฺชํ ปชหติ, อนวชฺชํ
ภาเวติฯ สุทฺธมตฺตานํ ปริหรตี’’’ติฯ
มหาราช
ขอถวายพระพรมหาบพิตร เอตํ วจนํ ปิ แม้
พระดำรัสนั้น ภควตา อันพระผู้มีพระภาค ภาสิตํ ตรัสแล้ว อิติ ว่า ภิกฺขเว
ดูก่อนภิกษุท.
อริยสาวโก พระอริยสาวก วีริยวา ผู้มีความเพียร
ปชหติ ย่อมละ อกุสลํ ซึ่งอกุศลธรรม, กุสลํ ยังกุศล ภาเวติ
ย่อมให้บังเกิด. ปชหติ ย่อมละ สาวชฺชํ ซึ่งธรรมมีโทษ,
อนวชฺชํ ยังธรรมไม่มีโทษ ภาเวติ
ย่อมให้บังเกิด. ปริหรติ ย่อมรักษา
อตฺตานํ ซึ่งตน สุทฺธํ ให้หมดจด ดังนี้ ดังนี้.
‘‘กลฺโลสิ, ภนฺเต
นาคเสนา’’ติฯ
ราชา พระราชา
อโวจ ได้ตรัสแล้ว อิติ ว่า ภนฺเต นาคเสน พระคุณเจ้านาคเสน ตฺวํ
ท่าน อสิ เป็น กลฺโล ผู้สามารถแก้ปัญหา”
ดังนี้.
วีริยลกฺขณปญฺโห
อ.ปัญหาเกี่ยวกับลักษณะแห่งวิริยะ
ทฺวาทสโม
ที่สิบสอง นิฏฺฅิโต จบแล้ว.
[1]
อุปมาที่ ๑ นี้ วิริยะเป็นเหมือนกับไม้ค้ำอีกท่อนหนึ่ง
กุศลธรรมต่างๆ
เปรียบเหมือนบ้านที่กำลังจะล้ม. บ้านไม่ล้มลง เพราะมีไม้อีกท่อนหนึ่งค้ำไว้ฉันใด
กุศลทั้งหลาย ไม่เสื่อมไป เพราะมีวิริยะคอยค้ำจุนหรือกระตุ้นไม่ให้ล้มลง
ไม่ให้หายไปเพราะอำนาจแห่งโกสัชชะ ฉันนั้น.
[2]
อนุสาเรยฺย
อรรถกถาแก้เป็น ปุนปฺปุนํ
ปวิสฺเสยฺย พึงให้เข้าไปบ่อยๆ.
ความว่า ส่งกำลังสมทบกองทัพแรก.
[3]
อนุเปเสยฺย
ในอรรถกถามีปาฐะเป็น
อนุปสฺเสยฺย และอรรถาธิบายว่า อฃฺฃาย ปริตฺตกาย เสนาย อุโภสุ ปสฺเสสุ อนุรกฺเขยฺย
พึงให้รักษากองทัพที่มีกำลังพลน้อยที่สองข้าง ความว่า คุ้มกัน. โดยนัยนี้หมายความว่า
ส่งไปอีกกองทัพหนึ่งเพื่อสมทบและเพื่อคุ้มกันรักษากองทัพหน้า.
[5]
หมายความว่า กองทัพมีกำลังพลน้อยทั้งที่ส่งไปคราวแรกร่วมกับที่ส่งไปทำหน้าที่สมทบและรักษากองทัพหน้า
ก็จะสามารถเอาชนะฝ่ายข้าศึกที่มีกองทัพใหญ่ได้.
[6]
ในอุปมาที่ ๒ นี้ พึงเห็น
วิริยะเหมือนกับกองทัพที่ส่งไปในคราวหลัง
ส่วนสัมปยุตธรรมหรือพระโยคาวจรพึงเห็นเหมือนกองทัพที่ส่งไปคราวแรกที่อาจเพลี่ยงพล้ำต่อกองทัพใหญ่.
วิริยะ ย่อมทำการค้ำจุนกุศลธรรมไม่ให้เพลี่ยงพล้ำต่อศัตรูคือกิเลส ในที่นี้ได้แก่
โกสัชชะอันเป็นเหตุให้กุศลธรรมเสื่อมหายไป.
ไม่มีความคิดเห็น:
แสดงความคิดเห็น