๑๕.
ปฃฺฃาลกฺขณปฃฺโห ปัญหาเกี่ยวกับลักษณะของปัญญา
๑๕. ราชา พระราชา อาห
ตรัสแล้ว อิติ ว่า ภนฺเต นาคเสน พระคุณเจ้านาคเสน, ปฃฺฃา ปัญญา กึลกฺขณา มีอะไรเป็นลักษณะเล่า ?" ดังนี้.
‘‘ปุพฺเพว
โข, มหาราช,
มยา
วุตฺตํ ‘เฉทนลกฺขณา ปญฺญา’ติ, อปิจ
โอภาสนลกฺขณา ปญฺญา’’ติฯ
เถโร พระเถระ
วิสชฺเชสิ วิสัชชนา อิติ ว่า มหาราช ขอถวายพระพรมหาบพิตร วจนํ
คำ อิติ ว่า ปฃฺฃา ปัญญา เฉทนลกฺขณา มีการตัดเป็นลักษณะ" ดังนี้
มยา อาตมภาพ วุตฺตํ กล่าวแล้ว ปุพฺเพ ว ในกาลก่อนนั่นเทียว, อปิจ
อีกอย่างหนึ่ง ปฃฺฃา ปัญญา โอภาสนลกฺขณา
มีการส่องสว่างเป็นลักษณะ" ดังนี้.
‘‘กถํ, ภนฺเต, โอภาสนลกฺขณา
ปญฺญา’’ติ?
ราชา พระราชา
ปุจฺฉิ ตรัสถามแล้ว อิติ ว่า ปฃฺฃา ปัญญา โอภาสนลกฺขณา มีการส่องสว่างเป็นลักษณะ กถํ อย่างไร
ภนฺเต พระคุณเจ้า?" ดังนี้.
‘‘ปญฺญา, มหาราช, อุปฺปชฺชมานา
อวิชฺชนฺธการํ วิธเมติ, วิชฺโชภาสํ ชเนติ, ญาณาโลกํ
วิทํเสติ, อริยสจฺจานิ ปากฏานิ กโรติฯ ตโต โยคาวจโร ‘อนิจฺจ’นฺติ
วา ‘ทุกฺข’นฺติ
วา ‘อนตฺตา’ติ
วา สมฺมปฺปญฺญาย ปสฺสตี’’ติฯ
เถโร พระเถระ
อาหทูลแล้ว อิติ ว่า มหาราช ขอถวายพระพรมหาบพิตร ปฃฺฃา
ปัญญา อุปฺปชฺชมานา เมื่อเกิดขึ้น วิธเมติ ย่อมทำลาย อวิชฺชนฺธการํ
ซึ่งความมืดคืออวิชชา, วิชฺโชภาสํ ยังความสว่างคือวิชชา ชเนติ
ย่อมให้เกิดขึ้น, วิทํเสติ ย่อมแสดง ฃาณาโลกํ ซึ่งแสงสว่างคือญาณ, กโรติ ย่อมกระทำ อริยสจฺจานิ
ซึ่งอริยสัจจ์[1] ปากฏานิ
ให้ปรากฏ. ตโต เพราะปัญญานั้น โยคาวจโร พระโยคาวจร ปสฺสติ
ย่อมเห็น สมฺมปฺปฃฺฃาย ด้วยปัญญาอันชอบ อิติ ว่า "อนิจฺจํ
ไม่เที่ยง"ดังนี้ วา หรือ วา หรือว่า "ทุกฺขํ
เป็นทุกข์" ดังนี้, วา หรือ "อนตฺตา ไม่ใช่ตน ดังนี้[2]"
ดังนี้.
‘‘โอปมฺมํ
กโรหี’’ติฯ
ราชา พระราชา
อาห ตรัสถาม อิติ ว่า ตฺวํ ขอพระคุณเจ้า กโรหิ
จงกระทำ โอปมฺมํ ซึ่งการอุปมา” ดังนี้.
‘‘ยถา, มหาราช, ปุริโส
อนฺธกาเร เคเห ปทีปํ ปเวเสยฺย, ปวิฏฺโฐ
ปทีโป อนฺธการํ วิธเมติ, โอภาสํ
ชเนติ, อาโลกํ วิทํเสติ, รูปานิ
ปากฏานิ กโรติฯ
เถโร พระเถระ
อาห ถวายพระพร อิติ ว่า มหาราช ขอถวายพระพรมหาบพิตร ปุริโส
บุรุษ ปทีปํ พึงถือประทีป ปเวเสยฺย เข้าไป[3] เคเห
ในเรือน อนฺธกาเร อันมืด, ปทีโป
ประทีป ปวิฏฺโฅ อันบุคคลให้เข้าไปแล้ว วิธเมติ ย่อมทำลาย อนฺธการํ
ซึ่งความมืด, โอภาสํ ยังความสว่าง ชเนติ ย่อมให้เกิด, วิทํเสติ
ย่อมแสดง[4] อาโลกํ
ซึ่งแสง, กโรติ ย่อมกระทำ รูปานิ
ซึ่งภาพท. ปากฏานิ ให้ปรากฏ ยถา ฉันใด, [5]
เอวเมว โข, มหาราช, ปญฺญา อุปฺปชฺชมานา อวิชฺชนฺธการํ วิธเมติ, วิชฺโชภาสํ ชเนติ, ญาณาโลกํ
วิทํเสติ, อริยสจฺจานิ
ปากฏานิ กโรติฯ ตโต โยคาวจโร ‘อนิจฺจ’นฺติ
วา ‘ทุกฺข’นฺติ
วา ‘อนตฺตา’ติ
วา สมฺมปฺปญฺญาย ปสฺสติฯ
มหาราช
ขอถวายพระพรมหาบพิตร ปฃฺฃา ปัญญา อุปฺปชฺชมานา เมื่อเกิดขึ้น วิธเมติ
ย่อมทำลาย อวิชฺชนฺธการํ ซึ่งความมืดคืออวิชชา, วิชฺโชภาสํ
ยังความสว่างคือวิชชา ชเนติ ย่อมให้เกิด, วิทํเสติ ย่อมแสดง ฃาณาโลกํ
ซึ่งแสงสว่างคือญาณ, กโรติ
ย่อมกระทำ อริยสจฺจานิ ซึ่งอริยสัจจ์ ปากฏานิ ให้ปรากฏ. ตโต เพราะปัญญานั้น
โยคาวจโร พระโยคาวจร ปสฺสติ ย่อมเห็น สมฺมปฺปฃฺฃาย
ด้วยปัญญาอันชอบ อิติ ว่า "อนิจฺจํ ไม่เที่ยง"ดังนี้ วา
หรือ วา หรือว่า "ทุกฺขํ เป็นทุกข์" ดังนี้, วา หรือ
"อนตฺตา ไม่ใช่ตน" ดังนี้ เอวํ เอว โข ฉันนั้นนั่นเทียว.
เอวํ โข, มหาราช, โอภาสนลกฺขณา
ปญฺญา’’ติฯ
มหาราช
ขอถวายพระพรมหาบพิตร ปฃฺฃา ปัญญา โอภาสนลกฺขณา มีการส่องสว่างเป็นลักษณะ
เอวํ โข ฉะนี้แล" ดังนี้.
‘กลฺโลสิ, ภนฺเต
นาคเสนา’’ติฯ
ราชา พระราชา
อโวจ ตรัส อิติ ว่า ภนฺเต นาคเสน พระคุณเจ้านาคเสน, ตฺวํ
ท่าน อสิ ย่อมเป็น กลฺโล ผู้สามารถแก้ปัญหา”
ดังนี้.
ปญฺญาลกฺขณปญฺโห
ปนฺนรสโมฯ
ปฃฺฃาลกฺขณปญฺโห ปัญหาเกี่ยวกับลักษณะแห่งปัญญา
ปณฺณรสโม
ที่สิบห้า นิฏฺฅิโต จบแล้ว.
[1]
อริยสัจจ์ สัจจะ ๔
ประการอันสร้างความเป็นพระอริยะ. จริงอยู่
ธรรม ๔ อย่างมีทุกข์เป็นต้น ผู้ใดเห็นด้วยปัญญาชอบ
ผู้นั้นก็จะสำเร็จเป็นพระอริยบุคคล.
[2]
หมายความว่า อวิชชา ได้ชื่อว่า ความมืด
ก็เพราะมีอาการที่ปิดบังสัจจะ, ไม่ให้สัจจะทั้งหลายปรากฏตามความเป็นจริง. ปัญญา
เมื่อเกิดขึ้น ย่อมกำจัดความมืดคืออวิชชานั้นได้
ก็เพราะมีการสร้างแสงสว่างคือวิชชา, ส่องแสงคือญาณ. เมื่อความมืดคืออวิชชาสิ้นไป
อริยสัจจะทั้งหลายก็ปรากฏ. แต่นั้น พระโยคีก็จะเห็นด้วยปัญญาอันชอบ คือ
เห็นตามความเป็นจริงของพระอริยะผู้ปราศจากอวิชชาว่า ไม่เที่ยง เป็นทุกข์
ไม่ใช่อัตตา.
[3]
ปเวเสยฺย เป็นรูปเหตุกัตตุวาจก ป + วิส + เณ +
เอยฺย ยังประทีป พึงให้เข้าไป เพราะธรรมดาประทีปจะเข้าไปเองไม่ได้
จะต้องมีผู้ให้เข้าไป ถือเอาความว่า นำประทีปเข้าไป.
[4]
วิทํเสติ = วิ
+ ทสิ แสดง + เณ + ติ ย่อมแสดง. เมื่อใช้เป็นกิริยาของปทีป โคมไฟ มีความว่า
ย่อมฉาย, ส่องแสง.
[5]
ลักษณะของปัญญาที่มีการส่องสว่างเทียบได้กับลักษณะของโคมไฟที่มีลักษณะส่องสว่างเหมือนกัน. อย่างไรก็ตาม ปัญญาและประทีป แม้จะมีลักษณะที่ส่องสว่างเหมือนกัน
แต่แสงประทีป
ก็มีอานุภาพเพียงทำให้เห็นภาพได้ในระยะหนึ่งเ หรือเห็นได้เฉพาะในที่โล่งแจ้ง
เท่านั้น หากไกลกว่านี้หรือมีสิ่งปิดบังอยู่ แสงประทีปนั้น
ก็ไม่อาจทำให้รูปภาพปรากฏแก่สายตาได้ แต่แสงสว่างแห่งปัญญาที่สามารถกำจัดความมืดคืออวิชชา
ย่อมหาขอบเขตมิได้ ไม่ว่าธรรมทั้งหลายจะอยู่ในที่มืดมิดเพียงใด
แม้จะเล็กละเอียดแค่ไหน มีวัตถุอื่นอะไรๆปิดบังอยู่ก็ตาม ปัญญาเมื่อเกิดขึ้น ย่อมรู้เห็นธรรมเหล่านั้นตามที่เป็นจริง
โดยนัยว่า ไม่เที่ยง เป็นต้น.
ไม่มีความคิดเห็น:
แสดงความคิดเห็น