วันจันทร์ที่ 13 มิถุนายน พ.ศ. 2559

มิลินทปัญหา อัทธานวรรค (๒) ปัญหาเกี่ยวกับการปฏิสนธิ

๒. ปฏิสนฺทหนปญฺโห
๒. ปฏิสนฺทหนปฃฺโห
อ.ปัญหาเกี่ยวกับการปฏิสนธิ
. ราชา อาห ‘‘ภนฺเต นาคเสน, โย น ปฏิสนฺทหติ, ชานาติ โส  น ปฏิสนฺทหิสฺสามีติ?

๒.ราชา อ.พระราชา อาห ตรัส อิติ ว่า นาคเสน ข้าแต่พระนาคเสน ภนฺเต ผู้เจริญ, โย ปุคฺคโล อ.บุคคลใด น ปฏิสนฺทหติ ย่อมไม่ปฏิสนธิ, โส ปุคฺคโล อ.บุคคลนั้น ชานาติ จะรู้ อิติ ว่า อหํ อ.เรา น ปฏิสนฺทหิสฺสามิ จักไม่ปฏิสนธิ ดังนี้ หรือไม่?

‘‘อาม, มหาราช, โย น ปฏิสนฺทหติ, ชานาติ โส น ปฏิสนฺทหิสฺสามีติฯ

เถโร อ.พระเถระ อาห กล่าว อิติ ว่ามหาราช ขอถวายพระพรมหาบพิตร อาม ถูกแล้ว โย ปุคฺคโล อ.บุคคลใด น ปฏิสนฺทหติ ย่อมไม่ปฏิสนธิ, โส ปุคฺคโล อ.บุคคลนั้น ชานาติ ย่อมรู้ อิติ ว่า อหํ อ.เรา น ปฏิสนฺทหิสฺสามิ จักไม่ปฏิสนธิ ดังนี้.

‘‘กถํ, ภนฺเต, ชานาตี’’ติ?

ราชา อ.พระราชา ปุจฺฉิ ตรัสถาม อิติ ว่า ภนฺเต ข้าแต่ท่านผู้เจริญ โส ปุคฺคโล อ.บุคคลนั้น ชานาติ จะรู้ กถํ ได้อย่างไร ดังนี้

 ‘‘โย เหตุ โย ปจฺจโย, มหาราช, ปฏิสนฺทหนาย, ตสฺส เหตุสฺส ตสฺส ปจฺจยสฺส อุปรมา ชานาติ โส น ปฏิสนฺทหิสฺสามี’’’ติฯ
เถโร อ.พระเถระ อาห ทูล อิติ ว่า มหาราช ขอถวายพระพรมหาบพิตร โย เหตุ อ.เหตุอันใด, โย ปจฺจโย อ.ปัจจัยอันใด (สมฺภเวยฺย พึงมี) ปฏิสนฺทหนาย เพื่อการปฏิสนธิ,[1] อุปรมา เพราะการดับไป ตสฺส เหตุสฺส ของเหตุนั้น ตสฺส ปจฺจยสฺส ของปัจจัยนั้น[2] โส อ.บุคคลนั้น ชานาติ  ย่อมรู้ อิติ ว่า อหํ อ.เรา น ปฏิสนฺทหิสฺสามิ จักไม่ปฏิสนธิ ดังนี้ [3]

‘‘โอปมฺมํ กโรหี’’ติฯ

ราชา อ.พระราชา อาห ตรัส อิติ ว่า ตฺวํ อ.ท่าน กโรหิ ขอจงกระทำ โอปมฺมํ ซึ่งการอุปมา" ดังนี้

‘‘ยถา, มหาราช, กสฺสโก คหปติโก กสิตฺวา จ วปิตฺวา จ ธญฺญาคารํ ปริปูเรยฺยฯ โส อปเรน สมเยน เนว กสฺเสยฺย น วปฺเปยฺย, ยถาสมฺภตญฺจ ธญฺญํ ปริภุญฺเชยฺย วา             วิสชฺเชยฺย วา ยถา ปจฺจยํ วา กเรยฺย,              ชาเนยฺย โส, มหาราช, กสฺสโก คหปติโก น เม ธญฺญาคารํ ปริปูเรสฺสตีติ?




เถโร อ.พระเถระ อาห กล่าว อิติ ว่า มหาราช ขอถวายพระพร มหาบพิตร ยถา เปรียบเหมือนว่า คหปติโก อ.คฤหบดี กสฺสโก ผู้เป็นชาวนา กสิตฺวา ครั้นไถแล้ว ด้วย วปิตฺวา จ ครั้นหว่านแล้ว ด้วยธฃฺฃาคารํ ยังยุ้งฉาง ปริปูเรยฺย พึงให้เต็ม. อปเรน สมเย โดยสมัยอื่นอีก โส คหปติโก อ.คฤหบดี กสฺสโก ผู้เป็นชาวนานั้น น กสฺเสยฺย ไม่พึงไถ น วปฺเปยฺย ไม่พึงหว่าน เอว นั่นเทียว, อนึ่ง ปริภุฃฺเชยฺย พึงบริโภค ยถาสมฺภตํ ตามที่สะสมไว้ วา หรือ วา หรือว่า วิสชฺเชยฺย พึงแจกจ่าย[4] วา หรือว่า กเรยฺย พึงกระทำ ยถาปจฺจยํ ตามควรแก่ปัจจัย, มหาราช ขอถวายพระพร มหาบพิตร โส คหปติโก อ.คฤหบดี กสฺสโก ผู้เป็นชาวนานั้น ชาเนยฺย พึงรู้ อิติ ว่า ธฃฺฃาคารํ อ.ยุ้งฉาง เม ของเรา น ปริปูเรสฺสติ จักไม่เต็ม ดังนี้ หรือไม่ ดังนี้.

 ‘‘อาม, ภนฺเต, ชาเนยฺยา’’ติฯ
ราชา อ.พระราชา อาห ตรัส อิติ ว่า อาม ใช่สิ ภนฺเต พระคุณเจ้า, โส คหปติโก อ.คฤหบดี กสฺสโก ผู้เป็นชาวนานั้น ชาเนยฺย พึงรู้ ดังนี้.

‘‘กถํ ชาเนยฺยา’’ติ?
เถโร อ.พระเถระ ปุจฺฉิ ถาม อิติ ว่า  โส คหปติโก อ.คฤหบดี กสฺสโก ผู้เป็นชาวนานั้น ชาเนยฺย พึงรู้ กถํ อย่างไร ดังนี้

 ‘‘โย เหตุ โย ปจฺจโย ธญฺญาคารสฺส ปริปูรณาย, ตสฺส เหตุสฺส ตสฺส ปจฺจยสฺส อุปรมา ชานาติ น เม ธญฺญาคารํ ปริปูเรสฺสตี’’’ติฯ

ราชา อ.พระราชา อาห ตรัส อิติ ว่า โย เหตุ อ.เหตุใด โย ปจฺจโย อ.ปัจจัยใด สมฺภเวยฺย พึงมี  ปริปูรณาย เพื่อความเต็ม ธฃฺฃาคารสฺส แห่งยุ้งฉาง, อุปรมา เพราะการดับไป ตสฺส เหตุสฺส ของเหตุนั้น ตสฺส ปจฺจยสฺส ของปัจจัยนั้น โส คหปติโก อ.คฤหบดี กสฺสโก ผู้เป็นชาวนานั้น ชานาติ ย่อมรู้ อิติ ว่า ธฃฺฃาคารํ  อ.ยุ้งฉาง เม ของเรา น ปริปูเรสฺสติ จักไม่เต็ม ดังนี้,   ดังนี้.
‘‘เอวเมว โข, มหาราช, โย เหตุ โย ปจฺจโย ปฏิสนฺทหนาย, ตสฺส เหตุสฺส ตสฺส ปจฺจยสฺส  อุปรมา ชานาติ  โส   น ปฏิสนฺทหิสฺสามีติฯ
เถโร อ.พระเถระ อาห กล่าว อิติ ว่า มหาราช ขอถวายพระพรมหาบพิตร โย เหตุ อ.เหตุอันใด, โย ปจฺจโย อ.ปัจจัยอันใด สมฺภเวยฺย พึงมี  ปฏิสนฺทหนาย เพื่อการปฏิสนธิ, อุปรมา เพราะการดับไป ตสฺส เหตุสฺส ของเหตุนั้น ตสฺส ปจฺจยสฺส ของปัจจัยนั้น โส ปุคฺคโล อ.บุคคลนั้น ชานาติ ย่อมรู้ อิติ ว่า อหํ อ.เรา น ปฏิสนฺทหิสฺสามิ จักไม่ปฏิสนธิ ดังนี้ เอวํ เอว โข ฉันนั้นนั่นเทียวแล ดังนี้.

‘‘กลฺโลสิ, ภนฺเต นาคเสนา’’ติฯ
ราชา อ.พระราชา อโวจ ได้ตรัส อิติ ว่า นฺเต นาคเสน พระคุณเจ้านาคเสน, ตฺวํ อ.ท่าน อสิ เป็น กลฺโล ผู้สามารถแก้ปัญหา ดังนี้.

ปฏิสนฺทหนปญฺโห ทุติโยฯ
ปฏิสนฺทหนปญฺโห
อ.ปัญหาเกี่ยวกับการปฏิสนธิ
ทุติโย ที่ ๒ นิฏฺฅิโต จบแล้ว.




[1] ในที่นี้  อวิชชา ตัณหา อุปาทาน และกรรม  ชื่อว่า เหตุ เพราะเป็นผู้ทำให้เกิด. ส่วนธรรมมีผัสสะเป็นต้นที่สัมปยุตต์ กับอวิชชาเป็นต้นนั้น ชื่อว่า ปัจจัย เพราะเป็นผู้อุปถัมภ์. คำว่า เพื่อการปฏิสนธิ หมายถึง เพื่อการเกิดขึ้นแห่งปฏิสนธิในภพถัดไป ที่เกิดติดต่อกับจุติจิตดวงสุดท้ายในภพก่อน. ด้วยคำนี้ แสดงปฏิจจสมุปบาทโดยอนุโลม.
[2] อุปรม คือ หยุด งดเว้น หมายถึง การที่เหตุและปัจจัยคืออวิชชาเป็นต้นพร้อมทั้งสัมปยุตธรรม ดับไปไม่เหลือ ไม่เกิดขึ้นใหม่ ด้วยวิราคะคือมรรค. ด้วยคำนี้ แสดงปฏิจจสมุปบาทโดยปฏิโลม.
[3] ปัญหานี้ หมายถึง พระขีณาสพ ย่อมรู้ว่า เราจักไม่ปฏิสนธิ. ก็ พระขีณาสพนั้น เมื่อพิจารณาด้วยญาณอย่างใดอย่างหนึ่งคือ ด้วยขยญาณ (ญาณรู้ในความสิ้นไปแห่งความเกิด)ว่า ชาติคือความเกิดขึ้นของเราสิ้นแล้ว, หรือ ด้วยอนุปปาทญาณ (ญาณรู้ในความไม่เกิดขึ้น)ว่า "ไม่มีกิจอื่นเพื่อความเป็นผู้สิ้นความเกิดอย่างนี้" ดังนี้แล้ว ย่อมรู้ว่า เราจักไม่ปฏิสนธิ.
[4] วิสชฺเชยฺย ตามรูปศัพท์แปลว่า มอบให้, สละ, แจกจ่าย, ละทิ้ง, แต่ในฉบับแปลของไทยทุกฉบับแปลว่า จำหน่าย  ความก็คือ แจกจ่ายนั่นเอง แต่ไม่ใช่หมายถึง ทำเพื่อการค้าเหมือนในสมัยนี้.

ไม่มีความคิดเห็น:

แสดงความคิดเห็น