วันจันทร์ที่ 13 มิถุนายน พ.ศ. 2559

มิลินทปัญหา ๑๖ ปัญหาเกี่ยวกับการทำกิจเดียวกันให้สำเร็จ แห่งธรรมต่างกัน

๑๖. นานาธมฺมานํ  เอกกิจฺจอภินิปฺผาทนปญฺโห
๑๖.เอกกิจฺจอภินิปฺผาทนปฃฺโห ปัญหาเกี่ยวกับการทำกิจเดียวกันให้สำเร็จ
นานาธมฺมานํ แห่งธรรมต่างกัน

๑๖. ราชา อาห ‘‘ภนฺเต นาคเสน,อิเม ธมฺมา นานา สนฺตา เอกํ อตฺถํ  อภินิปฺผาเทนฺตี’’ติ?
๑๖. ราชา อ.พระราชา ปุจฺฉิ  ทรงถามแล้ว อิติ ว่า ภนฺเต นาคเสน พระคุณเจ้านาคเสน, อิเม ธมฺมา ธรรมท.เหล่านี้ นานา เป็นธรรมต่างกัน[๑] สนฺตา มีอยู่ อตฺถํ ยังประโยชน์ เอกํ อย่างเดียวกัน อภินิปฺผาเทนฺติ ย่อมให้สำเร็จได้หรือ?" ดังนี้.

‘‘อาม,มหาราช, อิเม ธมฺมา นานาสนฺตา เอกํ อตฺถํ อภินิปฺผาเทนฺติ, กิเลเส  หนนฺตี’’ติฯ
เถโร.พระเถระ วิสชฺเชสิ วิสัชชนา อิติ ว่า มหาราช ขอถวายพระพรมหาบพิตร อาม ถูกต้องแล้ว อิเม ธมฺมา ธรรมท.เหล่านี้ นานา เป็นธรรมต่างกัน สนฺตา มีอยู่ อตฺถํ ยังประโยชน์ เอกํ อย่างเดียวกันอภินิปฺผาเทนฺติ ย่อมให้สำเร็จได้, หนนฺติ คือ ย่อมกำจัด กิเลเส ซึ่งกิเลสท.” ดังนี้[๒].

‘‘กถํ, ภนฺเต, อิเม ธมฺมา นานา สนฺตา เอกํ อตฺถํ อภินิปฺผาเทนฺติ, กิเลเส หนนฺติ? โอปมฺมํ กโรหี’’ติฯ
ราชา พระราชา ปุจฺฉิ ทรงถามแล้ว อิติ ว่า อิเม ธมฺมา ธรรมท.เหล่านี้ นานา เป็นธรรมต่างกัน สนฺตา มีอยู่ อตฺถํ ยังประโยชน์ เอกํ อย่างเดียวกัน อภินิปฺผาเทนฺติ ย่อมให้สำเร็จ หนนฺติ คือ  ย่อมกำจัด กิเลเส ซึ่งกิเลสท. กถํ ได้อย่างไรกัน ภนฺเต พระคุณเจ้า? ตฺวํ ท่าน กโรหิ ขอจงกระทำ โอปมฺมํ ซึ่งการอุปมา" ดังนี้.

‘‘ยถา, มหาราช, เสนา นานา สนฺตา หตฺถี จ อสฺสา จ รถา จ ปตฺตี จ เอกํ อตฺถํ  อภินิปฺผาเทนฺติ, สงฺคาเม ปรเสนํ อภิวิชินนฺติฯ เอวเมว โข, มหาราช, อิเม ธมฺมา นานา สนฺตา เอกํ อตฺถํ อภินิปฺผาเทนฺติ, กิเลเส  หนนฺตี’’ติฯ
เถโร อ.พระเถระ อาห ทูล  อิติ ว่า  มหาราช ขอถวายพระพรมหาบพิตร เสนา กองทัพท. นานา เป็นกองทัพอันต่างๆกัน คือ หตฺถี จ เป็นช้างด้วย อสฺสา จ เป็นม้าด้วย รถา จ เป็นรถด้วย ปตฺตี จ เป็นพลเดินเท้าด้วย สนฺตา มีอยู่,  อตฺถํ  ยังประโยชน์ เอกํ อย่างเดียวกัน  อภินิปฺผาเทนฺติ ย่อมให้สำเร็จ อภิวิชินนฺติ คือว่า ย่อมชนะ ปรเสนํ ซึ่งกองทัพฝ่ายอื่น สงฺคาเม ในสงคราม ยถา ฉันใด, มหาราช ขอถวายพระพรมหาบพิตร อาม ถูกต้องแล้ว อิเม ธมฺมา ธรรมท.เหล่านี้ นานา เป็นธรรมต่างกัน สนฺตา มีอยู่ อตฺถํ ยังประโยชน์ เอกํ อย่างเดียวกัน  อภินิปฺผาเทนฺติ ย่อมให้สำเร็จได้, หนนฺติ คือว่า ย่อมกำจัด กิเลเส ซึ่งกิเลสท. เอวํ เอว โข ฉันนั้นนั่นเทียวแล.

‘‘กลฺโลสิ, ภนฺเต นาคเสนา’’ติฯ
ราชา พระราชา อโวจ ได้ตรัส อิติ ว่า ภนฺเต นาคเสน พระคุณเจ้านาคเสน ตฺวํ ท่าน อสิ ย่อมเป็นกลฺโล ผู้สามารถแก้ปัญหา ดังนี้.

นานาธมฺมานํ เอกกิจฺจอภินิปฺผาทนปญฺโห โสฬสโมฯ

นานาธมฺมานํ เอกกิจฺจอภินิปฺผาทนปฃฺโห
ปัญหาเกี่ยวกับการทำกิจเดียวกันให้สำเร็จแห่งธรรมอันต่างกันท.
โสฬสโม ที่ ๑๖ นิฏฺฅิโต จบแล้ว.

*********
มหาวคฺโค ปฐโมฯ
อิมสฺมึ วคฺเค โสฬส ปญฺหาฯ

ปฅโม มหาวคฺโค มหาวรรคที่ ๑ นิฏฺฅิโต จบแล้ว
อิมสฺมึ วคฺเค ในวรรคนี้ โหนฺติ ย่อมมี โสฬส ๑๖  ปฃฺหา ปัญหา

v




[๑] ได้แก่ ธรรม ๗ ประการดังกล่าวไปแล้วคือ โยนิโสมนสิการ ศีล ศรัทธา วิริยะ สติ สมาธิและปัญญา.
[๒] พระเถระจะเทียบเคียงและทำอุปเมยยะคือธรรม ๗ ประการถึงจะต่างกันโดยลักษณะก็ตาม แต่ขณะที่อยู่ในระหว่างการเจริญวิปัสสนาเพื่อทำนิพพานให้แจ้ง ต่างก็มีกิจเดียวกันคือประหารกิเลส กับอุปมานะคือกองทัพที่ต่างกันโดยเป็นกองทัพช้างเป็นต้น แต่เมื่อหยั่งลงสู่สงคราม ก็มีกิจอันเดียวกัน คือมุ่งแต่เอาชัยชนะต่อข้าศึกศัตรู ให้เสมอกันด้วยคำพูดดังต่อไปนี้. 

ไม่มีความคิดเห็น:

แสดงความคิดเห็น