วันเสาร์ที่ 18 มิถุนายน พ.ศ. 2559

มิลินทปัญหา อัทธานวรรคที่ ๒ (๖). ปัญหาเกี่ยวกับความเป็นอันเดียวกันหรือต่างกันของนามรูป

๖. นามรูปเอกตฺตนานตฺตปญฺโห
๖. ปัญหาเกี่ยวกับความเป็นอันเดียวกันหรือต่างกันของนามรูป

. ราชา อาห ‘‘ภนฺเต นาคเสน, โก ปฏิสนฺทหตี’’ติ? เถโร อาห ‘‘นามรูปํ โข, มหาราช, ปฏิสนฺทหตี’’ติฯ ‘‘กิํ อิมํ เยว นามรูปํ ปฏิสนฺทหตี’’ติ? ‘‘น โข, มหาราช, อิมํ เยว นามรูปํ ปฏิสนฺทหติ, อิมินา ปน, มหาราช, นามรูเปน กมฺมํ กโรติ โสภนํ วา ปาปกํ วา, เตน กมฺเมน อญฺญํ นามรูปํ ปฏิสนฺทหตี’’ติฯ ‘‘ยทิ, ภนฺเต, น อิมํ เยว นามรูปํ ปฏิสนฺทหติ, นนุ โส มุตฺโต ภวิสฺสติ ปาปเกหิ กมฺเมหี’’ติ? เถโร อาห ‘‘ยทิ น ปฏิสนฺทเหยฺย, มุตฺโต ภเวยฺย ปาปเกหิ กมฺเมหิฯ ยสฺมา จ โข, มหาราช, ปฏิสนฺทหติ, ตสฺมา น มุตฺโต ปาปเกหิ กมฺเมหี’’ติฯ
ราชา พระเจ้ามิลินท์ อาห ตรัสถามว่า ภนฺเต นาคเสน พระคุณเจ้านาคเสน, โก ใคร ปฏิสนฺทหติ ปฏิสนธิ อิติ ดังนี้. เถโร พระนาคเสนเถระ อาห ทูลว่า นามรูปํ โข นามรูป ปฏิสนฺทหติ ปฏิสนธิ มหาราช มหาบพิตร อิติ ดังนี้. ราชา พระเจ้ามิลินท์ อาห ตรัสถามว่า นามรูปํ นามรูป อิมํเยว นี้นั่นแหละ ปฏิสนฺทหติ ปฏิสนธิ กิํ หรือ อิติ ดังนี้. เถโร พระนาคเสน อาห ทูลว่า ปุคฺคโล บุคคล กโรติ ทำ กมฺมํ กรรม โสภนํ วา ดี ปาปกํ วา หรือ ชั่ว อิมินา นามรูเปน ด้วยนามรูปนี้, อญฺญํ นามรูปํ นามรูปอีกอย่างหนึ่ง ปฏิสนฺทหติ ย่อมปฏิสนธิ. ราชา พระเจ้ามิลินท์ อาห ตรัสถามว่า ยทิ ถ้า อิมํ เยว นามรูปํ นามรูปนี้นั่นแหละ น ปฏิสนฺทหติ มิได้ปฏิสนธิ, โส เขา ภวิสฺสติ จักเป็น มุุตฺโต ผู้หลุดพ้น ปาปเกหิ กมฺเมหิ จากกรรมชั่ว นนุ มิใช่หรือ ภนฺเต พระคุณเจ้า ดังนี้?. เถโร พระนาคเสนเถระ อาห ทูลว่า ยทิ ถ้า โส เขา น ปฏิสนฺทเหยฺย ไม่พึงปฏิสนธิ, ภเวยฺย ก็พึงเป็น มุตฺโต ผู้หลุดพ้น ปาปเกหิ กมฺเมหิ จากกรรมชั่ว. จ โข ก็แล ยสฺมา เพราะ ปฏิสนฺทหติ เขายังปฏิสนธิอยู่, ตสฺมา ฉะนั้น น มุตฺโต จึงยังไม่หลุดพ้น ปาปเกหิ กมฺเมหิ จากกรรมชั่้ว มหาราช มหาบพิตร อิติ ดังนี้.

 ‘‘โอปมฺมํ กโรหี’’ติฯ ‘‘ยถา, มหาราช, โกจิเทว ปุริโส อญฺญตรสฺส ปุริสสฺส อมฺพํ อวหเรยฺย, ตเมนํ อมฺพสามิโก คเหตฺวา รญฺโญ ทสฺเสยฺย อิมินา เทว ปุริเสน มยฺหํ อมฺพา อวหฏาติ, โส เอวํ วเทยฺย นาหํ, เทว, อิมสฺส อมฺเพ อวหรามิ, อญฺเญ เต อมฺพา, เย อิมินา โรปิตา, อญฺเญ เต อมฺพา, เย มยา อวหฏา, นาหํ ทณฺฑปฺปตฺโตติฯ กิํ นุ โข โส, มหาราช, ปุริโส ทณฺฑปฺปตฺโต ภเวยฺยา’’ติ? ‘‘อาม, ภนฺเต, ทณฺฑปฺปตฺโต ภเวยฺยา’’ติฯ ‘‘เกน การเณนา’’ติ? ‘‘กิญฺจาปิ โส เอวํ วเทยฺย, ปุริมํ, ภนฺเต, อมฺพํ อปฺปจฺจกฺขาย ปจฺฉิเมน อมฺเพน โส ปุริโส ทณฺฑปฺปตฺโต ภเวยฺยา’’ติฯ ‘‘เอวเมว โข, มหาราช, อิมินา นามรูเปน กมฺมํ กโรติ โสภนํ วา ปาปกํ วา, เตน กมฺเมน อญฺญํ นามรูปํ ปฏิสนฺทหติ, ตสฺมา น มุตฺโต ปาปเกหิ กมฺเมหี’’ติฯ
ราชา พระเจ้ามิลินท์ อาห ตรัสว่า ตฺวํ ขอพระคุณเจ้า กโรหิ จงกระทำ โอปมฺมํ อุปมา อิติ ดังนี้. เถโร พระนาคเสนเถระ อาห ทูลว่า มหาราช มหาบพิตร โกจิเทว ปุริโส บุรุษบางคน อวหเรยฺย พึงขโมย อมฺพํ มะม่วง อญฺญตรสฺส ปุริสสฺส ของบุรุษคนใดคนหนึ่งมา, อมฺพสามิโก เจ้าของมะม่วง คเหตฺวา จับ ตเมนํ = ตํ เอนํ เขา ทสฺเสยฺย มาแสดง รญฺโญ ต่อพระราชาว่า เทว ขอเดชะ อมฺพา มะม่วงท. มยฺหํ ของหม่อมฉัน อิมินา ถูกบุรุษนี้ อวหฏา ขโมยมา อิติ ดังนี้, โส เขา วเทยฺย พึงกล่าว เอวํ อย่างนี้ว่า เทว ขอเดชะ อหํ ข้าพระองค์ น อวหรามิ มิได้ลัก มะม่วง อิมสฺส ของผู้นี้, เย อมฺพา มะม่วงเหล่าใด อิมินา ที่ผู้นี้ โรปิตา ปลูกไว้, เต อมฺพา มะม่วงเหล่านั้น อญฺเญ (พีชอมฺพา) เป็นต้นมะม่วง อีกต้นหนึ่ง, เย อมฺพา มะม่วงเหล่าใด มยา ที่ข้าพระองค์ อวหฏา ขโมยมา, เต อมฺพา มะม่วงเหล่านั้น อญฺเญ (ผลอมฺพา) เป็นผลมะม่วง อีกอย่างหนึ่ง. อหํ ข้าพระองค์ น อมฺหิ ไม่เป็น ทณฺฑปฺปตฺโต เป็นผู้ต้องราชทัณฑ์ อิติ ดังนี้, มหาราช ขอถวายพระพร โส ปุริโส บุรุษหัวขโมยนั้น  ทณฺฑปฺปตฺโต ภเวยฺย พึงเป็น ผู้ต้องพระราชทัณฑ์ กิํ นุ โข หรือไม่เล่า? อิติ ดังนี้. ราชา พระเจ้ามิลินท์ อาห ตรัสตอบว่า อาม ใช่สิ, โส ปุริโส บุรุษหัวขโมยนั้น  ภเวยฺย พึงเป็น ทณฺฑปฺปตฺโต ผู้ต้องพระราชทัณฑ์ ภนฺเต พระคุณเจ้า อิติ ดังนี้. เถโร พระนาคเสน อาห ทูลว่า เกน การเณน เพราะเหตุไร โส ปุริโส บุรุษหัวขโมยนั้น  ภเวยฺย พึงเป็น ทณฺฑปฺปตฺโต ผู้ต้องพระราชทัณฑ์ อิติ ดังนี้, ราชา พระเจ้ามิลินท์ อาห ตรัสตอบว่า โส ถึงเขา เอวํ วเทยฺย จะพึงกล่าว เอวํ อย่างนี้ กิญฺจาปิ แม้ก็จริง (ปน) แต่กระนััน โส ปุริโส บุรุษหัวขโมยนั้น  ภเวยฺย พึงเป็น ทณฺฑปฺปตฺโต ผู้ต้องพระราชทัณฑ์ อมฺเพน เพราะมะม่วง ปจฺฉิเมน ภายหลังที่เป็นผล (นิพฺพตฺเตน) ที่เกิดขึ้น อปฺปจฺจกฺขาย = อวิชหิตฺวา ไม่สละเสีย (หรือ จะแปลว่า ไม่พ้นไปจาก ความหมายคือ รับโทษเพราะมะม่วงต้นหลังที่เกิดขึ้นสืบต่อจากมะม่วงต้นแรกที่เป็นพืชพันธ์) อมฺพํ ต้นมะม่วง ปุริมํ ที่ปลูกเป็นต้นพืชก่อน[1] อิติ ดังนี้. เถโร พระนาคเสน อาห ทูลว่า มหาราช ขอถวายพระพร ปุคฺคโล บุคคล กโรติ ทำ กมฺมํ กรรม โสภนํ วา ดี ปาปกํ วา หรือ ชั่ว อิมินา นามรูเปน ด้วยนามรูปนี้, อญฺญํ นามรูปํ นามรูปอีกอย่างหนึ่ง ปฏิสนฺทหติ ย่อมปฏิสนธิ,  ตสฺมา ฉะนั้น น มุตฺโต จึงยังไม่หลุดพ้น ปาปเกหิ กมฺเมหิ จากกรรมชั่้ว เอวํ เอว โข ฉันนั้น เหมือนกันแหละ อิติ ดังนี้.

 ‘‘ภิยฺโย โอปมฺมํ กโรหี’’ติฯ
ราชา พระเจ้ามิลินท์ อาห ตรัสว่า ตฺวํ ขอพระคุณเจ้า กโรหิ จงกระทำ โอปมฺมํ อุปมา ภิยฺโย   ให้ยิ่งขึ้นอีก อิติ ดังนี้.

 ‘‘ยถา, มหาราช, โกจิเทว ปุริโส อญฺญตรสฺส ปุริสสฺส สาลิํ อวหเรยฺยเป.อุจฺฉุํ อวหเรยฺยเป.
เถโร พระนาคเสนเถระ อาห ทูลว่า มหาราช มหาบพิตร โกจิเทว ปุริโส บุรุษบางคน อวหเรยฺย พึงขโมย สาลิํ ซึ่งข้าวสาลี อญฺญตรสฺส ปุริสสฺส ของบุรุษอีกคนหนึ่ง ฯลฯ อวหเรยฺย พึงขโมย อุจฺฉุํ ซึ่งอ้อย ฯลฯ
(ข้อความที่เหลือเหมือนกับอุปมาว่าด้วยการขโมยผลมะม่วง ต่างกันเพียงในที่นี้เปลี่ยนเป็นขโมยข้าวสาลี ขโมยอ้อย แล้วถูกจับตัวแจ้งความต่อพระราชา สุดท้ายก็มีความผิดเพราะขโมยผลมะม่วงที่มันสืบพันธ์มาจากมะม่วงที่ปลูกนั่นแหละ ซึ่งถือว่าเป็นมะม่วงเหมือนกัน)

ยถา มหาราช โกจิ ปุริโส เหมนฺตกาเล อคฺคิํ ชาเลตฺวา วิสิพฺเพตฺวา [วิสีเวตฺวา (สี. ปี.)] อวิชฺฌาเปตฺวา ปกฺกเมยฺย, อถ โข โส อคฺคิ อญฺญตรสฺส ปุริสสฺส เขตฺตํ ฑเหยฺย [อุปฑเหยฺย (ก.)], ตเมนํ เขตฺตสามิโก คเหตฺวา รญฺโญ ทสฺเสยฺยอิมินา, เทว, ปุริเสน มยฺหํ เขตฺตํ ทฑฺฒนฺติฯ โส เอวํ วเทยฺย นาหํ, เทว, อิมสฺส เขตฺตํ ฌาเปมิ, อญฺโญ โส อคฺคิ, โย มยา อวิชฺฌาปิโต, อญฺโญ โส อคฺคิ, เยนิมสฺส เขตฺตํ ทฑฺฒํ, นาหํ ทณฺฑปฺปตฺโตติฯ กิํ นุ โข โส, มหาราช, ปุริโส ทณฺฑปฺปตฺโต ภเวยฺยา’’ติ? ‘‘อาม, ภนฺเต, ทณฺฑปฺปตฺโต ภเวยฺยา’’ติฯ ‘‘เกน การเณนา’’ติ? ‘‘กิญฺจาปิ โส เอวํ วเทยฺย, ปุริมํ, ภนฺเต, อคฺคิํ อปฺปจฺจกฺขาย ปจฺฉิเมน อคฺคินา โส ปุริโส ทณฺฑปฺปตฺโต ภเวยฺยา’’ติฯ ‘‘เอวเมว โข, มหาราช, อิมินา นามรูเปน กมฺมํ กโรติ โสภนํ วา ปาปกํ วา, เตน กมฺเมน อญฺญํ นามรูปํ ปฏิสนฺทหติ, ตสฺมา น มุตฺโต ปาปเกหิ กมฺเมหี’’ติฯ
มหาราช มหาบพิตร โกจิ ปุริโส บุรุษบางคน อคฺคิํ ชาเลตฺวา จุดไฟ เหมนฺตกาเล ในฤดูหนาว วิสิพฺเพตฺวา ผิงไฟแล้ว อวิชฺฌาเปตฺวา ไม่ดับ ปกฺกเมยฺย แล้วหลีกไป, อถ โข ต่อมา โส อคฺคิ ไฟนั้น ฑเหยฺย พึงไหม้ เขตฺตํ นา ปุริสสฺส ของบุรุษ อญฺญตรสฺส อีกผู้หนึ่ง, เขตฺตสามิโก เจ้าของนา คเหตฺวา จับ ตํ เอนํ บุรุษผู้จุดไฟนั้น ทสฺเสยฺย มามอบตัว รญฺโญ แด่พระราชา ว่า เทว ขอเดชนะ เขตฺตํ นา มยฺหํ ของหม่อมฉัน อิมินา ปุริเสน อันบุรุษนี้ ทฑฺฒํ เผาแล้ว อิติ ดังนี้. โส บุรุษผู้จุดไฟ วเทยฺย พึงกล่าว เอวํ อย่างนี้ว่า เทว ขอเดชะ อหํ หม่อมฉัน น ฌาเปมิ มิได้เผา เขตฺตํ นา อิมสฺส ของท่านผู้นี้, โย  อคฺคิ ไฟ อันใด มยา ที่หม่อมฉัน อวิชฺฌาปิโต มิได้ดับไว้ โส อคฺคิ ไฟนั้น อญฺโญ เป็นอีกกองหนึ่ง, เขตฺตํ นา อิมสฺส ของท่านผู้นี้ เยน ถูกไฟกองใด ทฑฺฒํ เผาแล้ว, โส อคฺคิ ไฟนั้น อญฺโญ เป็นอีกกองหนึ่ง, อหํ หม่อมฉัน ทณฺฑปฺปตฺโต จะเป็นผู้ต้องโทษ หามิได้ อิติ ดังนี้. มหาราช ขอถวายพระพร โส ปุริโส บุรุษผู้จุดไฟนั้น ภเวยฺย ควรเป็น ทณฺฑปฺปตฺโต ผู้ต้องโทษ กิํ นุ โข หรือไม่เล่า อิติ ดังนี้, ราชา อาห พระเจ้ามิลินท์ ตรัสว่า ภนฺเต พระคุณเจ้า อาม ต้องสิ, โส เขา ภเวยฺย ควรเป็น ทณฺฑปฺปตฺโต ผู้ต้องรับโทษทัณฑ์, อิติ ดังนี้. เถโร อาห พระนาคเสนเถระ ทูลถามว่า โส เขา ภเวยฺย ควรเป็น ทณฺฑปฺปตฺโต ผู้ต้องโทษ เกน การเณน เพราะเหตุไรเล่า อิติ ดังนี้. ราชา อาห พระเจ้ามิลินท์ ตรัสว่า โส ถึงเขา เอวํ วเทยฺย จะพึงกล่าว เอวํ อย่างนี้ กิญฺจาปิ แม้ก็จริง (ปน) แต่กระนััน โส ปุริโส บุรุษนั้น ภเวยฺย ควรเป็น ทณฺฑปฺปตฺโต ผู้ต้องโทษ อคฺคินา เพราะไฟ  ปจฺฉิเมน กองหลัง (นิพฺพตฺเตน ที่เกิดขึ้น) อปฺปจฺจกฺขาย = อปริจฺจตฺวา ไม่ละทิ้ง อคฺคิํ ไฟ ปุริมํ กองก่อน ภนฺเต พระคุณเจ้า อิติ ดังนี้. เถโร อาห พระนาคเสนเถระ ทูลว่า มหาราช ขอถวายพระพร ปุคฺคโล บุคคล กโรติ ทำ กมฺมํ กรรม โสภนํ วา ดี ปาปกํ วา หรือ ชั่ว อิมินา นามรูเปน ด้วยนามรูปนี้, อญฺญํ นามรูปํ นามรูปอีกอย่างหนึ่ง ปฏิสนฺทหติ ย่อมปฏิสนธิ,  ตสฺมา ฉะนั้น น มุตฺโต จึงยังไม่หลุดพ้น ปาปเกหิ กมฺเมหิ จากกรรมชั่้ว เอวํ เอว โข ฉันนั้น เหมือนกันแหละ อิติ ดังนี้.

‘‘ภิยฺโย โอปมฺมํ กโรหี’’ติฯ ‘‘ยถา, มหาราช, โกจิเทว ปุริโส ปทีปํ อาทาย ปาสาทํ อภิรูหิตฺวา ภุญฺเชยฺย, ปทีโป ฌายมาโน ติณํ ฌาเปยฺย, ติณํ ฌายมานํ ฆรํ ฌาเปยฺย, ฆรํ ฌายมานํ คามํ ฌาเปยฺย, คามชโน ตํ ปุริสํ คเหตฺวา เอวํ วเทยฺย กิสฺส ตฺวํ, โภ ปุริส, คามํ ฌาเปสีติ, โส เอวํ วเทยฺย นาหํ, โภ, คามํ ฌาเปมิ, อญฺโญ โส ปทีปคฺคิ, ยสฺสาหํ อาโลเกน ภุญฺชิํ, อญฺโญ โส อคฺคิ, เยน คาโม ฌาปิโตติ, เต วิวทมานา ตว สนฺติเก อาคจฺเฉยฺยุํ, กสฺส ตฺวํ, มหาราช, อฏฺฏํ [อตฺถํ (สี. ปี.)] ธาเรยฺยาสี’’ติ? ‘‘คามชนสฺส ภนฺเต’’ติฯ ‘‘กิํ การณา’’ติ? ‘‘กิญฺจาปิ โส เอวํ วเทยฺย, อปิ จ ตโต เอว โส อคฺคิ นิพฺพตฺโต’’ติฯ ‘‘เอวเมว โข, มหาราช, กิญฺจาปิ อญฺญํ มารณนฺติกํ นามรูปํ, อญฺญํ ปฏิสนฺธิสฺมิํ นามรูปํ, อปิ จ ตโต เยว ตํ นิพฺพตฺตํ, ตสฺมา น มุตฺโต ปาปเกหิ กมฺเมหี’’ติฯ
ราชา พระเจ้ามิลินท์ อาห ตรัสว่า ตฺวํ ขอพระคุณเจ้า กโรหิ จงกระทำ โอปมฺมํ อุปมา ภิยฺโย   ให้ยิ่งขึ้นอีก อิติ ดังนี้.
เถโร พระนาคเสนเถระ อาห ทูลว่า มหาราช ขอถวายพระพร โกจิ ปุริโส บุรุษบางคน อาทาย ถือ ปทีปํ ประทีป อภิรูหิตฺวา ขึ้น ปาสาทํ ปราสาท ภุญฺเชยฺย แล้วทานอาหาร, ปทีโป ประทีป ฌายมาโน ที่ยังติดอยู่ ติณํ ฌาเปยฺย พึงเผาหญ้า, ติณํ หญ้า ฌายมานํ ที่ติดไฟ ฌาเปยฺย พึงเผา ฆรํ บ้านเรือน, ฆรํ บ้านเรือน ฌายมานํ ที่ติดไฟอยู่ ฌาเปยฺย พึงเผา คามํ หมู่บ้าน, คามชโน ชาวบ้าน คเหตฺวา จับ ตํ ปุริสํ บุรุษนั้น วเทยฺย พึงกล่าว เอวํ อย่างนี้ ว่า โภ ปุริส พ่อคุณเอ๋ย ตฺวํ คุณ ฌาเปสิ เผา คามํ บ้าน กิสฺส เพราะเหตุไร อิติ ดังนี้? โส บุรุษ วเทยฺย จะต้องกล่าว เอวํ อย่างนี้ ว่า โภ ท่านทั้ืงหลาย อหํ ข้าพเจ้า ไม่ได้ ฌาเปมิ เผา คามํ บ้าน, อหํ ข้าพเจ้า ภุญฺชิํ ทานอาหาร อาโลเกน ด้วยแสงสว่าง ยสฺส ของประทีปใด, โส ปทีปคฺคิ ไฟแต่ประทีปนั้น อญฺโญ เป็นอีกอย่างหนึ่ง, คาโม บ้าน เยน ถูกไฟใด ฌาปิโต ไหม้แล้ว โส อคฺคิ ไฟนั้น อญฺโญ เป็นอีกอย่างหนึ่ง อิติ ดังนี้. เต ทั้งชาวบ้านและบุรุษนั้น วิวทมานา วิวาทกัน อาคจฺเฉยฺยุํ พึงมา สนฺติเก ในราชสำนัก ตว ของมหาบพิตร, มหาราช ขอถวายพระพร ตฺวํ มหาบพิตร ธาเรยฺยาสิ ควรรับฟัง อฏฺฏํ คำร้องเรียน กสฺส ของใคร อิติ ดังนี้. ราชา พระเจ้ามิลินท์ อาห ตรัสว่า อหํ โยม ธาเรยฺยามิ ควรรับฟัง อฏฺฏํ คำร้องเรียน คามชนสฺส ของชาวบ้าน ภนฺเต สิพระคุณเจ้า อิติ ดังนี้.  เถโร พระนาคเสนเถระ อาห ทูลว่า มหาราช ขอถวายพระพร ตฺวํ มหาบพิตร ธาเรยฺยาสิ รับฟัง อฏฺฏํ คำร้องเรียน คามชนสฺส ของชาวบ้าน กิํ การณา เพราะอะไรหรือ ? อิติ ดังนี้. ราชา พระเจ้ามิลินท์ อาห ตรัสว่า โส ถึงเขา เอวํ วเทยฺย จะพึงกล่าว เอวํ อย่างนี้ กิญฺจาปิ แม้ก็จริง อปิ จ แต่กระนััน โส อคฺคิ ไฟนั้น นิพฺพตฺโต เกิด (ลาม) ตโต เอว จากไฟแห่งประทีปนั้นทีเดียว อิติ ดังนี้.  เถโร อาห พระนาคเสนเถระ ทูลว่า มหาราช ขอถวายพระพร ปุคฺคโล บุคคล กโรติ ทำ กมฺมํ กรรม โสภนํ วา ดี ปาปกํ วา หรือ ชั่ว อิมินา นามรูเปน ด้วยนามรูปนี้, อญฺญํ นามรูปํ นามรูปอีกอย่างหนึ่ง ปฏิสนฺทหติ ย่อมปฏิสนธิ,  ตสฺมา ฉะนั้น น มุตฺโต จึงยังไม่หลุดพ้น ปาปเกหิ กมฺเมหิ จากกรรมชั่้ว เอวํ เอว โข ฉันนั้น เหมือนกันแหละ อิติ ดังนี้.

 ‘‘ภิยฺโย โอปมฺมํ กโรหี’’ติฯ ‘‘ยถา, มหาราช, โกจิเทว ปุริโส ทหริํ ทาริกํ วาเรตฺวา สุงฺกํ ทตฺวา ปกฺกเมยฺยฯ สา อปเรน สมเยน มหตี อสฺส วยปฺปตฺตา, ตโต อญฺโญ ปุริโส สุงฺกํ ทตฺวา วิวาหํ กเรยฺย, อิตโร อาคนฺตฺวา เอวํ วเทยฺย กิสฺส ปน เม ตฺวํ, อมฺโภ ปุริส, ภริยํ เนสีติ? โส เอวํ วเทยฺย นาหํ ตว ภริยํ เนมิ, อญฺญา สา ทาริกา ทหรี ตรุณี, ยา ตยา วาริตา จ ทินฺนสุงฺกา จ, อญฺญายํ ทาริกา มหตี วยปฺปตฺตา มยา วาริตา จ ทินฺนสุงฺกา จาติ, เต วิวทมานา ตว สนฺติเก อาคจฺเฉยฺยุํฯ กสฺส ตฺวํ, มหาราช, อฏฺฏํ ธาเรยฺยาสี’’ติ? ‘‘ปุริมสฺส ภนฺเต’’ติฯ ‘‘กิํ การณา’’ติ? ‘‘กิญฺจาปิ โส เอวํ วเทยฺย, อปิ จ ตโต เยว สา มหตี นิพฺพตฺตา’’ติฯ ‘‘เอวเมว โข, มหาราช, กิญฺจาปิ อญฺญํ มารณนฺติกํ นามรูปํ, อญฺญํ ปฏิสนฺธิสฺมิํ นามรูปํ, อปิ จ ตโต เยว ตํ นิพฺพตฺตํ, ตสฺมา นปริมุตฺโต ปาปเกหิ กมฺเมหี’’ติฯ
ราชา พระเจ้ามิลินท์ อาห ตรัสว่า ตฺวํ ขอพระคุณเจ้า กโรหิ จงกระทำ โอปมฺมํ อุปมา ภิยฺโย   ให้ยิ่งขึ้นอีก อิติ ดังนี้.
เถโร พระนาคเสนเถระ อาห ทูลว่า มหาราช ขอถวายพระพร ยถา  เปรียบเหมือนว่า โกจิ ปุริโส บุรุษบางคน วาเรตฺวา ขอ ทาริกํ เด็กหญิง ทหริํ สาว ทตฺวา ให้ สุงฺกํ ของหมั้น (ค่าตอบแทน) ปกฺกเมยฺย แล้วหลีกไป. อปเรน สมเยน ต่อมาภายหลัง สา เด็กหญิงสาว อสฺส พึง วยปฺปตฺตา ถึงวัย มหตี เป็นผู้ใหญ่, ตโต แต่นั้น อญฺโญ ปุริโส บุรุษอีกคนหนึ่ง ทตฺวา ให้ สุงฺกํ ของหมั้น กเรยฺย แล้วทำ วิวาหํ พิธีแต่งงาน, อิตโร บุรุษอีกคนหนึ่ง อาคนฺตฺวา กลับมา วเทยฺย พึงกล่าว เอวํ อย่างนี้ ว่า อมฺโภ ปุริส นี่คุณ ปน ก็ กิสฺส เพราะเหตุไรเล่า ตฺวํ คุณ เนสิ จึงนำ ภริยํ ภรรยา เม ของผมไป  อิติ ดังนี้. โส อีกฝ่ายหนึ่ง วเทยฺย จะต้องกล่าว เอวํ อย่างนี้ ว่า อหํ ผม น เนมิ มิได้นำ ภริยํ ภรรยา ตว ของคุณไป, ยา ทาริกา เด็กหญิงคนใด ตยา ที่คุณ วาริตา จ สู่ขอไว้ ทินฺนสุงฺกา จ และที่รับหมั้นจากคุณไว้, สา ทาริกา เด็กหญิงนั้น ทหรี เป็นสาว ตรุณี วัยรุ่น อญฺเญ ก็เป็นอีกคนหนึ่ง, ทาริกา เด็กหญิง วยปฺปตฺตา ถึงวัย มหตี เป็นผู้ใหญ่ มยา ที่เรา วาริตา สู่ขอ ทินฺนสุงฺกา จ และรับหมั้นจากเรา อยํ นี้ อญฺเญ ก็เป็นอีกคนหนึ่ง อิติ ดังนี้, เต พวกเขาเหล่านั้น วิวทมานา ต่างพากันทุ่มเถียงวิวาทกัน อาคจฺเฉยฺยุํ มา สนฺติเก ในราชสำนัก ตว ของพระองค์, มหาราช ขอถวายพระพร ตฺวํ มหาบพิตร ธาเรยฺยาสิ ควรรับรอง อฏฺฏํ คำร้องเรียน กสฺส ของผู้ใดเล่า อิติ ดังนี้ ?. ราชา พระเจ้ามิลินท์ อาห ตรัสว่า อหํ โยม ธาเรยฺยามิ ควรรับรอง อฏฺฏํ คำร้องเรียน ปุริมสฺส ของฝ่ายแรก ภนฺเต สิพระคุณเจ้า อิติ ดังนี้. เถโร พระนาคเสนเถระ อาห ทูลว่า มหาราช ขอถวายพระพร ตฺวํ มหาบพิตร ธาเรยฺยาสิ ควรรับรอง อฏฺฏํ คำร้องเรียน ปุริมสฺส ของฝ่ายแรก เกน การเณน เพราะอะไรหรือ อิติ ดังนี้.ราชา พระเจ้ามิลินท์ อาห ตรัสว่า โส ปุริโส ถึงบุรุษนั้น วเทยฺย พึงกล่าว เอวํ อย่างนี้ กิญฺจาปิ แม้ก็จริง อปิ  แต่กระนั้น สา ทาริกา เด็กหญิงนั้น นิพฺพตฺตา เกิด (เติบโต) มหตี เป็นผู้ใหญ่ ตโตเยว ทาริกโต แต่เด็กหญิงนั่นเอง อิติ ดังนี้.

‘‘ภิยฺโย โอปมฺมํ กโรหี’’ติฯ ‘‘ยถา, มหาราช, โกจิเทว ปุริโส โคปาลกสฺส หตฺถโต ขีรฆฏํ กิณิตฺวา ตสฺเสว หตฺเถ นิกฺขิปิตฺวา ปกฺกเมยฺย สฺเว คเหตฺวา คมิสฺสามีติ, ตํ อปรชฺชุ ทธิ สมฺปชฺเชยฺยฯ โส อาคนฺตฺวา เอวํ วเทยฺย เทหิ เม ขีรฆฏนฺติฯ โส ทธิํ ทสฺเสยฺยฯ อิตโร เอวํ วเทยฺย นาหํ ตว หตฺถโต ทธิํ กิณามิ, เทหิ เม ขีรฆฏนฺติฯ โส เอวํ วเทยฺย อชานโต เต ขีรํ ทธิภูตนฺติ เต วิวทมานา ตว สนฺติเก อาคจฺเฉยฺยุํ, กสฺส ตฺวํ มหาราช, อฏฺฏํ ธาเรยฺยาสี’’ติ? ‘‘โคปาลกสฺส ภนฺเต’’ติฯ ‘‘กิํ การณา’’ติ? ‘‘กิญฺจาปิ โส เอวํ วเทยฺย, อปิ จ ตโต เยว ตํ นิพฺพตฺต’’นฺติฯ ‘‘เอวเมว โข, มหาราช, กิญฺจาปิ อญฺญํ มารณนฺติกํ นามรูปํ, อญฺญํ ปฏิสนฺธิสฺมิํ นามรูปํ, อปิ จ ตโต เยว ตํ นิพฺพตฺตํ, ตสฺมา น ปริมุตฺโต ปาปเกหิ กมฺเมหี’’ติฯ
ราชา พระเจ้ามิลินท์ อาห ตรัสว่า ตฺวํ ขอพระคุณเจ้า กโรหิ จงกระทำ โอปมฺมํ อุปมา ภิยฺโย   ให้ยิ่งขึ้นอีก อิติ ดังนี้.
เถโร พระนาคเสนเถระ อาห ทูลว่า มหาราช ขอถวายพระพร ยถา  เปรียบเหมือนว่า โกจิเทว ปุริโส บุรุษบางคนนั่นเทียว กิณิตฺวา ซื้อ ขีรฆฏํ น้ำนมหม้อหนึ่ง หตฺถโต จากมือ โคปาลกสฺส ของคนเลี้ยงโค นิกฺขิปิตฺวา วางไว้ในมือ ตสฺส เอว โคปาลกสฺส ของคนเลี้ยงโคนั้นนั่นแหละ วตฺวา แล้วกล่าวว่า สฺเว ในวันพรุ่งนี้ อหํ ฉัน คเหตฺวา คมิสฺสามิ จักมารับ อิติ ดังนี้ ปกฺกเมยฺย แล้วก็ไป, อปรชฺชุ วันรุ่งขึ้น ตํ ขีรฆฏํ นมสดหม้อนั้น สมฺปชฺเชยฺย พึงถึงพร้อม (กลาย) ทธิ เป็นนมส้ม, โส บุรุษนั้น อาคนฺตฺวา มาแล้ว วเทยฺย พึงกล่าว เอวํ อย่างนี้ ว่า ตฺวํ ท่าน เทหิ จงให้ ขีรฆฏํ นมสดหม้อนั้น เม แก่เรา อิติ ดังนี้, โส คนเลี้ยงโค ทสฺเสยฺย พึงให้ ทธิํ นมส้ม. อิตโร บุรุษนอกนี้ วเทยฺย พึงกล่าว เอวํ อย่างนี้ว่า อหํ ฉัน น กิณามิ มิได้ซื้อ ทธิํ นมส้ม หตฺถโต จากมือ ตว ของท่าน, ตฺวํ ท่าน เทหิ จงให้ ขีรฆฏํ นมสดหม้อนั้น เม แก่เรา อิติ ดังนี้. โส คนเลี้ยงโคนั้น วเทยฺย พึงกล่าว เอวํ อย่างนี้ว่า ขีรํ นม เต ของท่าน อชานโต ที่ไม่รู้จักอะไร ทธิภูตํ เป็นนมส้มไปแล้ว อิติ ดังนี้. เต เขาทั้งสอง วิวทมานา วิวาทกัน อาคจฺเฉยฺยุํ พึงมา สนฺติเก ในราชสำนัก ตว ของพระองค์, มหาราช ขอถวายพระพร ตฺวํ มหาบพิตร ธาเรยฺยาสิ พึงรับรอง อฏฺฏํ ซึ่งคำร้องเรียน กสฺส ของผู้ใด อิติ ดังนี้. ราชา พระเจ้ามิลินท์ อาห ตรัสว่า อหํ โยม ธาเรยฺยามิ ควรรับรอง อฏฺฏํ คำร้องเรียน โคปาลกสฺส ของคนเลี้ยงโค ภนฺเต สิพระคุณเจ้า อิติ ดังนี้. เถโร พระนาคเสนเถระ อาห ทูลว่า มหาราช ขอถวายพระพร ตฺวํ มหาบพิตร ธาเรยฺยาสิ ควรรับรอง อฏฺฏํ คำร้องเรียน โคปาลกสฺส ของคนเลี้ยงโค เกน การเณน เพราะอะไรหรือ อิติ ดังนี้. ราชา พระเจ้ามิลินท์ อาห ตรัสว่า โส ปุริโส ถึงบุรุษนั้น วเทยฺย พึงกล่าว เอวํ อย่างนี้ กิญฺจาปิ แม้ก็จริง อปิ จ  แต่กระนั้น ตํ ทธิ นมส้ม นิพฺพตฺโต ก็เกิด (กลาย) มา ตโตเยว ขีรโต นมสดนั่นเอง อิติ ดังนี้. เถโร พระนาคเสนเถระ อาห ทูลว่า  มหาราช ขอถวายพระพร นามรูปํ นามรูป ที่มีในคราวใกล้ตาย อญฺญํ เป็นอีกอย่างหนึ่ง นามรูปํ นามรูป ที่มีในคราวปฏิสนธิ อญฺญํ เป็นอีกอย่างหนึ่ง กิญฺจาปิ แม้ก็จริง, อปิ จ แต่กระนั้น นามรูปํ นามรูปที่มีในคราวปฏิสนธิ นิพฺพตฺตํ เกิดขึ้น ตโตเยว มารณนฺติกโต เพราะนามรูปที่มีในคราวใกล้ตายนั่นแหละ, ตสฺมา เพราะฉะนั้น โส ปุคฺคโล บุคคลนั้น น ปริมุตฺโต ไม่หลุดพ้นแล้ว ปาปเกหิ กมฺเมหิ จากกรรมชั่ว เอวํ เอว โข ฉันนั้นเหมือนกันแล อิติ ดังนี้.

‘‘กลฺโลสิ, ภนฺเต นาคเสนา’’ติฯ
ราชา พระราชา อโวจ ตรัส ว่า ภนฺเต นาคเสน พระคุณเจ้านาคเสน, ตฺวํ ท่าน อสิ เป็นผู้ กลฺโล สามารถแก้ปัญหา อิติ ดังนี้.

นามรูปเอกตฺตนานตฺตปญฺโห ฉฏฺโฐฯ
นามรูปเอกตฺตนานตฺตปญฺโห ปัญหาเกี่ยวกับญาณและปัญญา ฉฏฺโฐ ที่ ๖  นิฏฺฐิโต จบ






[1] มิลินทฎีกาว่า ปุริมํ ภนฺเต อมฺพพีชํ ภูตํ มูลการณภูตํ อปจฺจกฺขาย อวิชหิตฺวา นิพฺพตฺเตน ปจฺฉิเมน อมฺเพน ปุริโส ทณฑปฺปตฺโต ภเวยฺยาติ โยชนาฯ

ไม่มีความคิดเห็น:

แสดงความคิดเห็น