สา น
จิรสฺเสว สุวณฺณวณฺณํ ปุตฺตํ วิชายิ, ‘‘มหาชนกกุมาโร’’ติสฺส อยฺยกสนฺตกํ นามมกาสิ. โส
วฑฺฒมาโน ทารเกหิ สทฺธิํ กีฬนฺโต เย ตํ โรเสนฺติ, เต อสมฺภินฺนขตฺติยกุเล
ชาตตฺตา มหาพลวตาย เจว มานถทฺธตาย จ ทฬฺหํ คเหตฺวา ปหรติฯ ตทา เต มหาสทฺเทน
โรทนฺตา ‘‘เกน ปหฏา’’ติ วุตฺเต ‘‘วิธวาปุตฺเตนา’’ติ วทนฺติฯ อถ กุมาโร จินฺเตสิ ‘‘อิเม มํ ‘วิธวาปุตฺโต’ติ อภิณฺหํ วทนฺติ, โหตุ, มม
มาตรํ ปุจฺฉิสฺสามี’’ติฯ โส เอกทิวสํ มาตรํ
ปุจฺฉิ ‘‘อมฺม, โก มยฺหํ ปิตา’’ติ? อถ นํ มาตา ‘‘ตาต, พฺราหฺมโณ เต ปิตา’’ติ วญฺเจสิฯ โส ปุนทิวเสปิ ทารเก
ปหรนฺโต ‘‘วิธวาปุตฺโต’’ติ วุตฺเต ‘‘นนุ พฺราหฺมโณ เม ปิตา’’ติ วตฺวา ‘‘พฺราหฺมโณ กิํ เต โหตี’’ติ วุตฺเต จินฺเตสิ ‘‘อิเม มํ, พฺราหฺมโณ เต กิํ โหตี’ติ อภิณฺหํ วทนฺติ, มาตา เม อิทํ การณํ ยถาภูตํ น
กเถสิ, สา อตฺตโน มเนน เม น กเถสฺสติ, โหตุ,
กถาเปสฺสามิ น’’นฺติฯ โส ถญฺญํ ปิวนฺโต ถนํ
ทนฺเตหิ ฑํสิตฺวา ‘‘อมฺม, เม ปิตรํ กเถหิ,
สเจ น กเถสฺสสิ, ถนํ เต ฉินฺทิสฺสามี’’ติ อาหฯ สา ปุตฺตํ วญฺเจตุํ อสกฺโกนฺตี ‘‘ตาต,
ตฺวํ มิถิลายํ อริฏฺฐชนกรญฺโญ ปุตฺโต, ปิตา เต
โปลชนเกน มาริโต, อหํ ตํ อนุรกฺขนฺตี อิมํ นครํ อาคตา,
อยํ พฺราหฺมโณ มํ
ภคินิฏฺฐาเน ฐเปตฺวา ปฏิชคฺคตี’’ติ กเถสิฯ
โส ตํ สุตฺวา ตโต ปฏฺฐาย ‘‘วิธวาปุตฺโต’’ติ วุตฺเตปิ น กุชฺฌิฯ
สา
พระเทวี วิชายิ คลอดแล้ว ปุตฺตํ ซึ่งพระโอรส สุวณฺณวณฺณํ
มีวรรณะดังวรรณะแห่งทอง น จิรสฺส เอว ต่อกาลไม่นานนั่นเทียว, เทวี
พระเทวี อกาสิ ได้ทรงกระทำแล้ว นามํ ซึ่งชื่อ อยฺยกสนฺตกํ
อันเป็นชื่อมีอยู่ของพระอัยยกา (นามํ)
ให้เป็นชื่อ อสฺส กุมารสฺส ของพระโอรสนั้น อิติ ว่า มหาชนกกุมาโร
มหาชนกกุมาร. โส พระโอรสนั้น วฑฺฒมาโน เจริญวัยอยู่ กีฬนฺโต เมื่อเล่น
สทฺธึ กับ ทารเกหิ ด้วยเด็กท., เย เด็กท. เหล่าใด ตํ ยังพระกุมารนั้น
โรเสนฺติ ให้ทรงพระกรรแสงอยู่, คเหตฺวา ทรงจับ เต
เด็กเหล่านั้น ทฬฺหํ ไว้แน่น (ตสฺส มหาชนกกุมารสฺส) มหาพลวตาย เจว
เพราะพระชนกกุมารนั้น เป็นผู้มีกำลังมาก, ปหรติ ตี มานถทฺธตาย จ
เพราะพระชนกกุมารนั้น เป็นผู้กระด้างแล้วเพราะมานะด้วย อสมฺภินฺนขตฺติยกุเล
ชาตตฺตา เหตุที่ประสูติชในตระกูลกษัตริย์อันไม่เจือปน. ตทา ในกาลนั้น เต
เด็กเหล่านั้น โรทนฺตา ร้องไห้ มหาสทฺเทน ด้วยเสียงดัง, วจเน ครั้นเมื่อคำ
อิติ ว่า ตุมฺเห เธอท. เกน อันใคร ปหฏา ตีแล้ว ดังนี้
ญาตีหิ อันญาติท. วุตฺเต กล่าวแล้ว, วทนฺติ ย่อมกล่าว อิติ
ว่า วิธาวาปุตฺโต บุตรของหญิงหม้าย ปหรติ ย่อมตี ดังนี้. อถ
ครั้งนั้น กุมาโร พระกุมาร จินฺเตสิ คิดแล้ว อิติ ว่า อิเม
เด็กท.เหล่านี้ วทนฺติ ย่อมเรียก มํ ซึ่งเรา อิติ วิธวาปุตฺโต
บุตรของหญิงหม้าย ดังนี้ อภิณฺหํ เนืองๆ , ตํ การณํ เหตุนั้น โหตุ
จงมีเถิด, อหํ เรา ปุจฺฉิสฺสามิ จักถาม มาตรํ ซึ่งมารดา มม
ของเรา ดังนี้. เอกทิวสํ ในวันหนึ่ง โส พระกุมารนั้น ปุจฺฉิ
ทรงถามแล้ว มาตรํ ซึ่งพระมารดา อิติ ว่า อมฺม ข้าแต่แม่ โก
ใคร ปิตา เป็นพระบิดา มยฺหํ ของหม่อมฉัน โหติ ย่อมเป็น
ดังนี้. อถ ครั้งนั้น มาตา พระมารดา วญฺเจสิ ลวงแล้ว นํ
ซึ่งพระกุมารนั้น อิติ ว่า ตาต แน่ะพ่อ, พฺราหฺมโณ ท่านพราหมณ์
ปิตา เป็นพระบิดมา เต ของเจ้า โหติ ย่อมเป็น ดังนี้. โส
พระกุมารนั้น ปหรนฺโต เมื่อตี ทารเก ซึ่งเด็กท. ปุนทิวเสปิ
แม้ในวันอื่นอีก วจเน ครั้นเมื่อคำ อิติ ว่า วิธวาปุตฺโต
บุตรของหญิงหม้าย ดังนี้ ทารเกหิ อันเด็กท. วุตฺเต กล่าวแล้ว, วตฺวา
ทรงกล่าวแล้ว อิติ ว่า พฺราหฺมโณ ท่านพราหมณ์ ปิตา เป็นบิดา เม
ของเรา โหติ ย่อมเป็น นนุ มิใช่หรือ? ดังนี้, วจเน
ครั้นเมื่อคำ อิติ ว่า พฺราหฺมโณ ท่านพราหมณ์ ปิตา เป็นบิดา เต
ของท่าน โหติ ย่อมเป็น กึ อย่างไร ดังนี้ ทารเกหิ อันเด็กท.
กล่าวแล้ว จินฺเตสิ ทรงดำริแล้ว อิติ ว่า อิเม เด็กท.เหล่านี้ วทนฺติ
ย่อมเรียก มํ ซึ่งเรา อิติ ว่า พฺราหฺมโณ พราหมณ์ ปิตา เป็นบิดา
เต ของท่าน โหติ ย่อมเป็น กึ อย่างไร ดังนี้ อภิณฺหํ
เนืองๆ, มาตา แม่ น กเถสิ ไม่บอกแล้ว อิทํ การณํ ซึ่งเหตุนี้
ยถาภูตํ ตามเป็นจริง, สา มารดานั้น น กเถสฺสติ จักไม่บอก เม
แก่เรา มเนน ด้วยใจ อตฺตโน ของตน, ตํ การณํ เหตุนั้น โหตุ
จงมีเถิด, อหํ เรา นํ ยังมารดานั้น กถาเปสฺสามิ จักให้กล่าว
ดังนี้. โส มหาชนกกุมารนั้น ปิวนฺโต เมื่อดื่มอยู่ ถญฺญํ[1] ซึ่งน้ำนมมารดา ฑํสิตฺวา กัดแล้ว ถนํ
ซึ่งเต้านม ทนฺเตหิ ด้วยฟันท. อาห กล่าวแล้ว อิติ ว่า อมฺม
ข้าแต่แม่ ตฺวํ ท่าน กเถหิ จงบอก ปิตรํ ซึ่งบิดา เม
แก่เรา, สเจ ถ้าว่า ตฺวํ ท่าน น กเถสฺสสิ จักไม่บอก, อหํ
กระผม ฉินฺทิสฺสามิ จักตัด ถนํ ซึ่งเต้านม เต ของท่าน
ดังนี้. สา มารดานั้น อสกฺโกนฺตี ไม่อาจอยู่ วญฺเจตุ–
เพื่ออันลวง ปุตฺตํ ซึ่งบุตร กเถสิ กล่าวแล้ว อิติ ว่า ตาต
แน่ะพ่อ ตฺวํ เจ้า ปุตฺโต เป็นพระราชบุตร อริฏฺฐชนกรญฺโญ ของพระราชาทรงพระนามว่า
อริฏฐชนก มิถิลายํ ในเมืองมิถิลา, ปิตา พระบิดา เต ของเจ้า โปลชนเกน
อันพระเจ้าโปลชนก มาริโต ให้ตายแล้ว, อหํ เรา อนุรกฺขนฺตี
เมื่อรักษา ตํ ซึ่งเจ้า อาคตา เป็นผู้มาแล้ว นครํ
สู่พระนครนี้ อมฺหิ ย่อมเป็น, อยํ พฺราหฺมโณ พราหมณ์นี้ ฐเปตฺวา
ตั้งไว้แล้ว มํ ซึ่งเรา ภคินิฏฺฐาเน ในตำแหน่งแห่งน้องสาว ปฏิชคฺคิ
เลี้ยงดูแล้ว ดังนี้. วจเน ครั้นเมื่อคำ อิติ ว่า วิธวาปุตฺโต บุตรของหญิงหม้าย
ดังนี้ ทารเกหิ อันเด็กท. วุตฺเต
กล่าวแล้ว โส พระมหาชนกกุมารนั้น
สุตฺวา ครั้นฟัง ตํ ซึ่งคำนั้น น กุชฺฌิ ไม่โกรธแล้ว ปฏฺฐาย จำเดิม ตโต แต่กาลนั้น.
[1]
ถน + ณฺย ปัจจัย วิ. ถเน ภวํ ถญฺญํ, ขีรํ
นมในเต้าเชื่อว่า ถญฺญ, (กงฺขา.ฎี), ถนโต
สมฺภูตํ ถญฺญํ ธาน.ฎี., ปีตํ มาตุยา ถนโต นิพฺพตฺตขีรํ สํ.ฎี.๒/๑๕๑
ไม่มีความคิดเห็น:
แสดงความคิดเห็น