โส
โสฬสวสฺสพฺภนฺตเรเยว ตโย เวเท จ สพฺพสิปฺปานิ จ อุคฺคณฺหิ,
โสฬสวสฺสิกกาเล ปน อุตฺตมรูปธโร อโหสิฯ อถ โส ‘‘ปิตุ สนฺตกํ รชฺชํ คณฺหิสฺสามี’’ติ จินฺเตตฺวา มาตรํ
ปุจฺฉิ ‘‘อมฺม, กิญฺจิ ธนํ เต
หตฺเถ อตฺถิ, อุทาหุ โน, อหํ โวหารํ
กตฺวา ธนํ อุปฺปาเทตฺวา ปิตุ สนฺตกํ รชฺชํ คณฺหิสฺสามี’’ติฯ อถ นํ มาตา อาห – ‘‘ตาต, นาหํ
ตุจฺฉหตฺถา อาคตา, ตโย เม หตฺเถ ธนสารา อตฺถิ, มุตฺตสาโร, มณิสาโร, วชิรสาโรติ,
เตสุ เอเกโก รชฺชคฺคหณปฺปมาโณ, ตํ คเหตฺวา
รชฺชํ คณฺห, มา โวหารํ กรี’’ติฯ ‘‘อมฺม, อิทมฺปิ ธนํ มยฺหเมว อุปฑฺฒํ กตฺวา เทหิ,
ตํ ปน คเหตฺวา สุวณฺณภูมิํ คนฺตฺวา พหุํ ธนํ อาหริตฺวา รชฺชํ
คณฺหิสฺสามี’’ติฯ โส อุปฑฺฒํ อาหราเปตฺวา ภณฺฑิกํ กตฺวา
สุวณฺณภูมิํ คมิเกหิ วาณิเชหิ สทฺธิํ นาวาย ภณฺฑํ อาโรเปตฺวา ปุน นิวตฺติตฺวา
มาตรํ วนฺทิตฺวา ‘‘อมฺม,
อหํ สุวณฺณภูมิํ คมิสฺสามี’’ติ อาหฯ อถ นํ
มาตา อาห – ‘‘ตาต, สมุทฺโท นาม อปฺปสิทฺธิโก
พหุอนฺตราโย, มา คจฺฉ, รชฺชคฺคหณาย เต
ธนํ พหู’’ติฯ โส ‘‘คจฺฉิสฺสาเมว อมฺมา’’ติ มาตรํ วนฺทิตฺวา
เคหา นิกฺขมฺม นาวํ อภิรุหิฯ
โส
พระมหาชนกกุมารนั้น อุคฺคณฺหิ เรียนแล้ว ตโย เวเท จ ซึ่งเวท. สาม
ด้วย, สพฺพสิปฺปานิ จ ซึ่งศิลปะทั้งปวง ด้วย โสฬสวสฺสพฺภนฺตเร เอว เมื่ออายุได้
๑๖ ชัณษาเท่านั้น. ปน อนึ่ง โส พระกุมารนั้น อโหสิ ได้เป็น
อุตฺตมรูปธโร เป็นผู้ทรงไว้ซึ่งรูปอันสูงสุด โสฬสวสฺสิกกาเล ตั้งแต่อายุได้
๑๖ พระชัณษา. อถ ต่อมา โส พระมหาชนกนั้น จินฺเตตฺวา
ทรงดำริแล้ว อิติ ว่า อหํ เรา คณฺหิสฺสามิ จักช่วงชิง รชฺชํ
รัชชสมบัติ สนฺตกํ ที่เป็นของ ปิตุ ของพระบิดา ดังนี้ ปุจฺฉิ
ทูลถามแล้ว มาตรํ ซึ่งพระมารดา อิติ ว่า อมฺม เสด็จแม่ ธนํ
ทรัพย์ กิญฺจิ ใดๆ หตฺเถ ในมือ เต ของแม่ อตฺถิ
มีอยู่หรือ, อุทาหุ หรือว่า ธนํ ทรัพย์ โน อตฺถิ
ย่อมไม่มี, อหํ หม่อมฉัน กตฺวา กระทำแล้ว โวหารํ ซึ่งการค้าขาย
ธนํ ยังทรัพย์ อุปฺปาเทตฺวา ให้เกิดขึ้นแล้ว คณฺหิสฺสามิ จักช่วงชิง
รชฺชํ รัชชสมบัติ สนฺตกํ ของพระบิดา ดังนี้. อถ ลำดับนั้น มาตา พระมารดา อาห
กล่าวแล้ว นํ กะพระมหาชนก อิติ ว่า ตาต แนะพ่อ อหํ
เรา เป็นผู้มีมือเปล่า หุตฺวา เป็น อาคตา มาแล้ว น หามิได้, ธนสารา
ทรัพย์มีค่าท. ตโย ๓ อิติ
คือ มุตฺตสาโร ทรัพย์มีค่าคือมุกดา มณิสาโร ทรัพย์มีค่าคืออัญญมณี, วชิรสาโร
ทรัพย์มีค่าคือเพชร อตฺถิ มีอยู่ หตฺเถ ในมือ เม ของเรา, เตสุ
ในทรัพย์มีค่าท.เหล่านั้น หนา เอเกโก ทรัพย์มีค่าอย่างหนึ่ง อย่างหนึ่ง รชฺชคฺคหณปฺปมาโณ
มีจำนวนพอเพื่อช่วงชิงรัชสมบัติ ตฺวํ เจ้า คเหตฺวา รับแล้ว ตํ
ซึ่งทรัพย์นั้น คณฺห จงถือเอา รชฺชํ รัชสมบัติ, มา กริ อย่ากระทำแล้ว
โวหารํ ซึ่งการค้าขาย ดังนี้. โส พระมหาชนก อาห กล่าวแล้ว อิติ
ว่า อมฺม เสด็จแม่ ตฺวํ ท่าน กตฺวา จงกระทำแล้ว ธนํ
ซึ่งทรัพย์ อิทมฺปิ แม้นี้ อุปฑฺฒํ ให้เป็นทรัพย์เข้าไปกึ่งหนึ่ง เทหิ
จงให้ มยฺหํ แก่หม่อมฉัน เอว นั่นเทียว, ปน ก็ อหํ
หม่อมฉัน คเหตฺวา จักถือเอาแล้ว ตํ ซึ่งทรัพย์นั้น คนฺตฺวา
ไปแล้ว สุวณฺณภูมิํ สู่แคว้นสุวรรณภูมิ อาหริตฺวา นำมาแล้ว ธนํ
ซึ่งทรัพย์ พหุํ มาก คณฺหิสฺสามิ จักถือเอา รชฺชํ
ซึ่งความเป็นแห่งพระราชา ดังนี้. โส พระมหาชนก อาหราเปตฺวา ยังพระมารดาให้นำมาแล้ว
อุปฑฺฒํ ซึ่งทรัพย์อันเข้าไปกึ่งหนึ่ง กตฺวา กระทำแล้ว ภณฺฑิกํ ให้เป็นทรัพย์เพื่อสินค้า
(ฉบับสยามรัฐเป็น ภณฺฑํ คเหตฺวา แปลว่า รับสินค้า ความหมายคือ
นำทรัพย์ไปซื้อสินค้ามา) ปุคฺคลํ ยังบุคคล อาโรเปตฺวา ให้ยกแล้ว ภณฺฑํ
ซึ่งสินค้า นาวาย บนเรือ สทฺธิํ กับ วาณิเชหิ ด้วยพ่อค้าท. คมิเกหิ
ผู้เดินทางไป สุวณฺณภูมิํ สู่แคว้นสุวรรณภูมิ นิวตฺติตฺวา
กลับมาแล้ว ปุน อีก วนฺทิตฺวา ถวายบังคมแล้ว มาตรํ ซึ่งพระมารดา อาห
กราบทูลแล้ว อิติ ว่า อมฺม ข้าแต่แม่ อหํ หม่อมฉัน คมิสฺสามิ จักไป สุวณฺณภูมิํ
สู่แคว้นสุวรรณภูมิ ดังนี้. อถ ครั้งนั้น มาตา พระมารดา อาห
กล่าวแล้ว นํ กะพระมหาชนก ตาต แน่ะพ่อ สมุทฺโท นาม ชื่อ
มหาสมุทร โหติ เป็น อปฺปสิทฺธิโก สถานที่สำเร็จประโยชน์น้อย พหุอนฺตราโย
มีอันตรายมาก. ธนํ ทรัพย์ เต ของเจ้า โหติ เป็น พหู
ทรัพย์มาก รชฺชคฺคหณาย สำหรับช่วงชิงรัชสมบัติ ดังนี้. โส พระมหาชนก
วตฺวา กล่าวแล้ว อิติ ว่า อมฺม เสด็จแม่ อหํ หม่อมฉัน
คจฺฉิสฺสามิ จักไป เอว นั่นเทียว ดังนี้ วนฺทิตฺวา
ถวายบังคมแล้ว มาตรํ ซึ่งพระมารดา นิกฺขมฺม ออกแล้ว เคหา
จากเรือน อภิรุหิ ขึ้นแล้ว นาวํ สู่เรือ.
ไม่มีความคิดเห็น:
แสดงความคิดเห็น