วันศุกร์ที่ 3 มิถุนายน พ.ศ. 2559

๑๐). เทพธิดามณีเมขลามาช่วยพระมหาชนก

ตทา ‘‘เย มาตุปฏฺฐานาทิคุณยุตฺตา สมุทฺเท มริตุํ อนนุจฺฉวิกา สตฺตา, เต อุทฺธาเรหี’’ติ จตูหิ โลกปาเลหิ มณิเมขลา นาม เทวธีตา สมุทฺทรกฺขิกา ฐปิตา โหติฯ สา สตฺต ทิวสานิ สมุทฺทํ น โอโลเกสิ, ทิพฺพสมฺปตฺติํ อนุภวนฺติยา กิรสฺสา สติ ปมุฏฺฐาฯ ‘‘เทวสมาคมํ คตา’’ติปิ วทนฺติฯ อถ สา ‘‘อชฺช เม สตฺตโม ทิวโส สมุทฺทํ อโนโลเกนฺติยา, กา นุ โข ปวตฺตี’’ติ โอโลเกนฺตี มหาสตฺตํ ทิสฺวา ‘‘สเจ มหาชนกกุมาโร สมุทฺเท นสฺสิสฺส, เทวสมาคมปเวสนํ น ลภิสฺส’’นฺติ จินฺเตตฺวา มหาสตฺตสฺส อวิทูเร อลงฺกเตน สรีเรน อากาเส ฐตฺวา มหาสตฺตํ วีมํสมานา ปฐมํ คาถมาห
อนึ่ง ตทา ในกาลนั้น เทวธีตา นางเทพธิดา มณิเมขลา นาม ชื่อ มณีเมขลา สมุทฺทรกฺขิกา เป็นผู้รักษาซึ่งมหาสมุทร อัน โลกปาเลหิ อันท้าวโลกบาลท. จตูหิฐปิตา ทรงตั้งไว้แล้ว อิติ ว่า เย ชนา ชนเหล่าใด มาตุปฏฺฐาทิคุณยุตฺตา ประกอบด้วยคุณมีการเลี้ยงดูมารดาเป็นต้น อนนุจฺฉวิกา ไม่ควร มริตุํ ตาย สมุทฺเท ในมหาสมุทร โหนฺติ ย่อมเป็น, ตฺวํ เธอ อุทฺธาเรหิ จงอุ้ม เต ชเน ชนเหล่านั้น ดังนี้ โหติ ย่อมเป็น. สา นางเทพธิดา โอเลเกสิ ไม่ตรวจดูแล้ว สมุทฺทํ ซึ่งมหาสมุทร ทิวสานิ สิ้นวันท. สตฺต เจ็ด, กิร กล่าวกันว่า อสฺสา เมื่อนางเทพธิดา อนุภวนฺติยา เสวยอยู่ ทิพฺพสมฺปตฺติํ ซึ่งสมบัติอันเป็นทิพย์ สติ สติ ปมุฏฺฐา หลงลืมแล้ว. เกจิ อาจริยา อาจารย์ท. บางพวก วทนฺติ ย่อมกล่าว อิติ ว่า สา นางเทพธิดา คตา ไปแล้ว เทวสมาคมํ สู่ที่ประชุมแห่งเทวดา ดังนี้ ปิ ก็มี. อถ ลำดับนั้น สา นางเทพธิดา โอโลเกนฺตี ตรวจดูอยู่ อิติ ว่า เม เมื่อเรา อโนโลเกนฺติยา มิได้ตรวจดูอยู่ สมุทฺทํ ซึ่งมหาสมุทร อชฺช = อยํ ทิโว วันนี้[1] สตฺตโม ทิวโส เป็นวันที่ ๗ โหติ ย่อมเป็น, กา ปวตฺติ เรื่องราวอะไร นุ โข หนอแล ภวิสฺสติ จักมี  ดังนี้  ทิสฺวา เห็นแล้ว มหาสตฺตํ ซึ่งพระมหาสัตว์ จินฺเตตฺวา คิดแล้ว อิติ ว่า สเจ หากว่า มหาชนกกุมาโร พระมหาชนกกุมาร นสฺสิสฺส จักตาย สมุทฺเท ในมหาสมุทร ไซร้, อหํ เรา น ลภิสฺสํ จักไม่ได้แล้ว เทวสมาคมปเวสนํ ซึ่งการเข้าไปสู่สมาคมแห่งเทวดา ดังนี้, ฐตฺวา สถิตย์อยู่ อากาเส ในอากาส อวิทูเร ที่ไม่ไกล มหาสตฺตสฺส แห่งพระมหาสัตว์ สรีเรน ด้วยทั้งสรีระ อลงฺกเตน อันตกแต่งแล้ว วีมํสมานา ทดลองอยู่ มหาสตฺตํ ซึ่งพระมหาสัตว์ อาห กล่าวแล้ว คาถํ ซึ่งคาถา ปฐมํ แรก



[1] แปลตามนัยที่อรรถกถาสุตตนิบาตแก้ศัพท์ว่า อชฺช ในพระบาฬีว่า อชฺช ปณฺณรสี อุโปสโถ เป็น อยํ รตฺตินฺทิโว  โดยนัยนี้ บทว่า อชฺช มาจาก อิม + ชฺช ปัจจัยในอรรถว่าวันนี้ และศัพท์นี้เป็นสัตตมีวิภัติใช้ในอรรถปฐมา มีชื่อว่า สัตตมีปัจจัตตะ. เกี่ยวกับศัพท์ว่า อชฺช นี้ โดยปกติ ชฺช ปัจจัยใช้ลงท้าย อิม ศัพท์ ในอรรถว่า อิมสฺมิํ ทิวเส  โดยเป็นปัจจัยแสดงวิภัตติ คือ กาลสัตตมี อนึ่ง อชฺช ศัพท์ยังเป็นนิบาตกาลสัตตมี ในอรรถว่า อตฺราเห ในวันนี้. 

ไม่มีความคิดเห็น:

แสดงความคิดเห็น