วันศุกร์ที่ 3 มิถุนายน พ.ศ. 2559

๙) เรืออัปปาง พระมหาชนกทรงลอยคออยู่ ๗ วัน

ตํ ทิวสเมว โปลชนกสฺส สรีเร โรโค อุปฺปชฺชิ, อนุฏฺฐานเสยฺยํ สยิฯ ตทา สตฺต ชงฺฆสตานิ นาวํ อภิรุหิํสุฯ นาวา สตฺตทิวเสหิ สตฺต โยชนสตานิ คตาฯ สา อติจณฺฑเวเคน คนฺตฺวา อตฺตานํ วหิตุํ นาสกฺขิ, ผลกานิ ภินฺนานิ, ตโต ตโต อุทกํ อุคฺคตํ, นาวา สมุทฺทมชฺเฌ นิมุคฺคาฯ มหาชนา โรทนฺติ ปริเทวนฺติ, นานาเทวตาโย นมสฺสนฺติฯ มหาสตฺโต ปน เนว โรทติ น ปริเทวติ, น เทวตาโย นมสฺสติ, นาวาย ปน นิมุชฺชนภาวํ ญตฺวา สปฺปินา สกฺขรํ โอมทฺทิตฺวา กุจฺฉิปูรํ ขาทิตฺวา ทฺเว มฏฺฐกสาฏเก เตเลน เตเมตฺวา ทฬฺหํ นิวาเสตฺวา กูปกํ นิสฺสาย ฐิโต นาวาย นิมุชฺชนสมเย กูปกํ อภิรุหิฯ มหาชนา มจฺฉกจฺฉปภกฺขา ชาตา, สมนฺตา อุทกํ อฑฺฒูสภมตฺตํ โลหิตํ อโหสิฯ มหาสตฺโต กูปกมตฺถเก ฐิโตว ‘‘อิมาย นาม ทิสาย มิถิลนคร’’นฺติ ทิสํ ววตฺถเปตฺวา กูปกมตฺถกา อุปฺปติตฺวา มจฺฉกจฺฉเป อติกฺกมฺม มหาพลวตาย อุสภมตฺถเก ปติฯ ตํ ทิวสเมว โปลชนโก กาลมกาสิฯ ตโต ปฏฺฐาย มหาสตฺโต มณิวณฺณาสุ อูมีสุ ปริวตฺตนฺโต สุวณฺณกฺขนฺโธ วิย สมุทฺทํ ตรติฯ โส ยถา เอกทิวสํ, เอวํ สตฺตาหํ ตรติ, ‘‘อิทานิ ปุณฺณมีทิวโส’’ติ เวลํ ปน โอโลเกตฺวา โลโณทเกน มุขํ วิกฺขาเลตฺวา อุโปสถิโก โหติฯ

ตํทิวสํ เอว ในวันนั้นนั่นเอง โรโค พระโรค อุปฺปชฺชิ เกิดขึ้นแล้ว สรีเร ในพระสรีระ โปลชนกสฺส ของพระเจ้าโปลชนก, สยิ พระองค์บรรทม อนุฏฺฐานเสยฺยํ โดยไม่เสด็จลุกขึ้นอีก. ตทา ในเวลานั้ืน สตฺตชงฺฆสตานิ พ่อค้าเจ็ดร้อย อภิรุหิํสุ ขึ้น นาวํ เรือ. นาวา เรือ คตา แล่นไปแล้ว โยชนสตานิ สตฺต ได้เจ็ดร้อยโยชน์. สา เรือ คนฺตฺวา แล่นไปแล้ว อติจณฺฑเวเคน ด้วยกำลังรุนแรงยิ่ง (สยามรัฐเป็น อติจณฺฑอูมิเวเคน ด้วยกำลังแห่งคลื่นที่รุนแรงยิ่ง) น อสกฺขิ ไม่อาจแล้ว วหิตุํ เพื่อทรง อตฺตานํ ซึ่งตน. ผลกานิ แผ่นกระดานแห่งเรือ ภินฺนานิ แตกแล้ว ตรงฺคเวเคน ด้วยกำลังแห่งคลื่น. อุทกํ น้ำ อุคฺคตํ ผุดขึ้นแล้ว ตโต ตโต ทางช่องนั้นทุกช่อง, นาวา เรือ นิมุคฺคา จมแล้ว สมุทฺทมชฺเฌ ในท่ามกลางแห่งมหาสมุทร. มหาชนา มหาชนท. (มรณภยภีตา เป็นผู้หวาดกลัวต่อภัยคือความตาย หุตฺวา เป็น) โรทนฺติ ร้องไห้แล้ว ปริเทวนฺติ คร่ำครวญแล้ว, นมสฺสนฺติ ต่างกราบไหว้ นานาเทวตาโย ซึ่งเทพยดาต่างๆ ท. ปน แต่ว่า มหาสตฺโต พระมหาสัตว์ น โรทติ ย่อมไม่กรรแสง เอว นั่นเทียว น ปริเทวติ ย่อมไม่คร่ำครวญ,  น นมสฺสนฺติ ย่อมไม่นอบน้อม เทวตาโย ซึ่งเทพยดาท., ปน อนึ่ง ญตฺวา ทรงทราบแล้ว นิมฺมุชฺชนภาวํ ซึ่งความที่ นาวาย แห่งเรือ พึงจมลง โอมทฺทิตฺวา ขยำแล้ว สกฺขรํ ซึ่งน้ำตาลกรวด สทฺธิํ  กับ สปฺปินา ด้วยเนย ขาทิตฺวา เคี้ยวแล้ว กุจฺฉิปูรํ กระทำให้ท้องเต็ม (เสวยให้อิ่ม) เตเมตฺวา ชุบแล้ว มฏฺฐสาฏเก ซึ่งผ้าเนื้อเกลี้ยงท. เทฺว สอง เตเลน ด้วยน้ำมัน นิวาเสตฺวา นุ่งแล้ว ทฬฺหํ ให้แน่น นิสฺสาย ฐิโต ยืนพิง กูปกํ ซึ่งเสากระโดงแล้ว อภิรุหิ ขึ้นแล้ว กูปกมตฺถกํ สู่ยอดแห่งเสากระโดง  นิมุชฺชนสมเย ในเวลาที่จมลง นาวาย แห่งเรือ. มหาชนา มหาชนท. มจฺฉกจฺฉปภกฺขา เป็นภักษาของปลาและเต่า ชาตา เกิดแล้ว, อุทกํ น้ำทะเล สมนฺตา โดยรอบ อฑฺฒูสภมตฺตํ  พึ้นที่เท่ากับกึ่งอุสุภะ โลหิตํ มีสีแดง อโหสิ ได้มีแล้ว. มหาสตฺโต พระมหาสัตว์ ฐิโต ทรงยืนแล้ว กูปกมตฺถเก ที่ยอดแห่งเสากระโดง นั่นเอง ววตฺถเปตฺวา กำหนดแล้ว ทิสํ ซึ่งทิศ อิติ ว่า มิถิลนครํ เมืองมิถิลา อตฺถิ มีอยู่ ทิสาย โดยทิศ อิมาย นามาย ชื่อ นี้ ดังนี้ อุปฺปติตฺวา กระโดดลงมาแล้ว กูปกมตฺถกา จากยอดแห่งเสากระโดง อติกฺกมฺม ข้าม มจฺฉกจฺฉเป ซึ่งปลาและเต่าท. ปติ ตกไปแล้ว อุสภมตฺถเก ในที่สุดแห่งน้ำมีอุสุภะหนึ่ง มหาพลวตาย เพราะทรงเป็นผู้มีพระกำลังมาก. โปลชนโก พระเจ้าโปลชนก อกาสิ ได้กระทำแล้ว กาลํ ซึ่งกาละ ตํทิวสํ เอว ในวันนั้นเช่นกัน.  มหาสตฺโต พระมหาสัตว์ ปริวตฺตนฺโต ลอยคออยู่ อูมีสุ บนคลื่น มณิวณฺณาสุ สีเหมือนแก้วมณี วิย เหมือน สุวณฺณกฺขนฺโธ เหมือนก้อนแห่งทองคำ ตรติ ย่อมข้าม สมุทฺทํ ซึ่งมหาสมุทร ปฏฺฐาย จำเดิม ตโต ทิวสโต แต่วันนั้น. โส พระมหาสัตว์ ตรติ ย่อมข้าม, เอกทิวสํ หนึ่งวัน อตฺถิ ย่อมมี ยถา ฉันใด, สตฺตาหํ ตลอดวันเจ็ด เอวํ ฉันนั้น, ปน ก็ มหาสตฺโต พระมหาสัตว์ โอโลเกตฺวา ตรวจดู เวลํ เวลา (ทรงทราบ) อิติ ว่า ปุณฺณมีทิวโส วันเพ็ญ  โหติ ย่อมมี อิทานิ ณ กาลบัดนี้ ดังนี้ วิกฺขาเลตฺวา บ้วนแล้ว มุขํ ซึ่งพระโอษฐ์ โลโณทเกน ด้วยน้ำเค็ม อุโปสถิโก เป็นผู้ สมาทานซึ่งอุโบสถ โหติ ย่อมเป็น.

ไม่มีความคิดเห็น:

แสดงความคิดเห็น