๑๒๓.
‘‘โกยํ มชฺเฌ สมุทฺทสฺมิํ, อปสฺสํ ตีรมายุเห;
กํ ตฺวํ อตฺถวสํ ญตฺวา, เอวํ วายมเส ภุส’’นฺติฯ
อิติ ว่า อยํ
ปุริโส บุรุษนี้ โก เป็นใคร อปสฺสํ =
อปสฺสนฺโต เมื่อไม่เห็น ตีรํ ซึ่งฝั่ง อายุ ยังพยายามอยู่,
ตฺวํ คุณ ญตฺวา รู้ อตฺถวสํ ซึ่งอำนาจแห่งประโยชน์ กํ
อะไร วายมเส จึงพยายาม ภุสํ อย่างยิ่งยวด เอวํ เพียงนี้ ดังนี้
ตตฺถ อปสฺสํ
ตีรมายุเหติ ตีรํ อปสฺสนฺโตว อายูหติ วีริยํ กโรติฯ
ตตฺถ
ในพระคาถานั้น อตฺโถ อรรถ อิติ ว่า อปสฺสนฺโต เมื่อไม่เห็น ว
เทียว ตีรํ ซึ่งฝั่ง อายูหติ ย่อมพากเพียร คือว่า กโรติ
ย่อมกระทำ วิริยํ
ซึ่งความพยายาม ดังนี้ ปทฺทวยสฺส แห่งหมวดสองแห่งบท อิติ ว่า
อปสฺสํ ตีรมายุเห ดังนี้.
อถ
มหาสตฺโต ตสฺสา วจนํ สุตฺวา ‘‘อชฺช เม สตฺตโม ทิวโส
สมุทฺทํ ตรนฺตสฺส, น เม ทุติโย สตฺโต ทิฏฺฐปุพฺโพ, โก นุ มํ วทตี’’ติ อากาสํ โอโลเกนฺโต ตํ ทิสฺวา
ทุติยํ คาถมาห –
อถ
ลำดับนั้น มหาสตฺโต พระมหาสัตว์ สุตฺวา สดับแล้ว วจนํ
ซึ่งคำพูด ตสฺสา ของเทพธิดา จินฺเตตฺวา คิดแล้ว อิติ ว่า อชฺช
วันนี้ ทิวโส เป็นวัน สตฺตโม ที่ ๗ เม ของเรา ตรนฺตสฺส
ผู้ว่ายข้ามอยู่ สมุทฺทํ ซึ่งมหาสมุทร, สตฺโต บุคคล ทุติโย ที่สอง
เม อันเรา ทิฏฺฐปุพฺโพ เห็นแล้วในกาลก่อน น โหติ ย่อมไม่มี, โก
ใคร นุ หนอ วทติ ย่อมพูด มํ กะเรา ดังนี้ โอโลเกนฺโต แลดูอยู่
อากาสํ ซึ่งอากาศ ทิสฺวา เห็นแล้ว ตํ ซึ่งเทพธิดา อาห
กล่าวแล้ว คาถํ ซึ่งคาถา ทุติยํ ที่สอง
๑๒๔.
‘‘นิสมฺม วตฺตํ โลกสฺส, วายามสฺส จ เทวเต;
ตสฺมา มชฺเฌ สมุทฺทสฺมิํ, อปสฺสํ ตีรมายุเห’’ติฯ
อิติ ว่า เทวตา
เทพธิดา อหํ เรา นิสมฺม ไตร่ตรองแล้ว วตฺตํ
ซึ่งข้อประพฤติ โลกสฺส ของชาวโลก จ ด้วย (อานิสงฺสํ
ซึ่งอานิสงส์) วายามสฺส ของความพยายาม จ ด้วย, ตสฺมา เพราะฉะน้ัน
อหํ เรา อปสฺสํ ถึงจะไม่เห็น ตีรํ ฝั่ง อายุเห ก็จะพยายาม
มชฺเฌ อยู่กลาง สมุทฺทสฺมิํ มหาสมุทร ดังนี้
ตตฺถ นิสมฺม
วตฺตํ โลกสฺสาติ อหํ โลกสฺส วตฺตกิริยํ ทิสฺวา อุปธาเรตฺวา วิหรามีติ อตฺโถฯ วายามสฺส
จาติ วายามสฺส จ อานิสํสํ นิสาเมตฺวา วิหรามีติ ทีเปติฯ ตสฺมาติ ยสฺมา นิสมฺม วิหรามิ, ‘‘ปุริสกาโร นาม น
นสฺสติ, สุเข ปติฏฺฐาเปตี’’ติ ชานามิ,
ตสฺมา ตีรํ อปสฺสนฺโตปิ อายูหามิ วีริยํ กโรมิ, น อุกฺกณฺฐามีติฯ
ตตฺถ
ในคาถานั้น อตฺโถ อรรถ อิติ ว่า อหํ เรา ทิสฺวา
เห็นเแล้ว อุปธาเรตฺวา คือ ใคร่ครวญแล้ว วตฺตกิริยํ
ซึ่งการกระทำวัตรปฏิบัติ โลกสฺส ของชาวโลก วิหรามิ อยู่ ดังนี้ (คาถาปาทสฺส
แห่งบาทคาถา) อิติ ว่า นิสมฺม วตฺตํ โลกสฺส ดังนี้.
มหาชนโก
พระมหาชนก ทีเปติ ย่อมแสดง อิติ ว่า อหํ เรา นิสาเมตฺวา วิหรามิ
ย่อมไตร่ตรอง อยู่ อานิสํสํ ซึ่งอานิสงส์ วายามสฺส แห่งความเพียร จ
ด้วย ดังนี้ ปททฺวเยน ด้วยสองบท อิติ ว่า วายามสฺส จ ดังนี้.
อตฺโถ อรรถ อิติ
ว่า อหํ เรา นิสมฺม วิหรามิ ย่อมไตร่ตรองอยู่ อหํ เรา ชานามิ ย่อมรู้ อิติ ว่า
นาม ธรรมดาว่า ปุริสกาโร ความเพียรของคน นสฺสติ ย่อมเสียหาย น
หามิได้, โส ความเพียรของคน ปุคฺคลํ
ยังบุคคล ปติฏฺฐาเปติ ย่อมให้ตั้งอยู่ สุเข ในความสุข ดังนี้, ยสฺมา
เพราะเหตุใด, ตสฺมา เพราะเหตุนั้น อหํ เรา อปสฺสนฺโตปิ แม้จะไม่เห็น
ตีรํ ซึ่งฝั่ง อายูหามิ จะพยายาม คือ กโรมิ จะกระทำ วิริยํ
ซึ่งความเพียร, อหํ เรา น อุกฺกณฺฐามิ ไม่เหนื่อยหน่าย.
สา ตสฺส
ธมฺมกถํ สุตฺวา อุตฺตริ โสตุกามา หุตฺวา ปุน คาถมาห –
สา
เทพธิดา สุตฺวา ฟัง ธมฺมกถํ ธรรมกถา ตสฺส ของพระมหาสัตว์แล้ว
โสตุกามา หุตฺวา ต้องการรับฟัง อุตฺตริ ต่อไป อาห
จึงกล่าว คาถํ คาถา ปุน อีก อิติ ว่า
๑๒๕.
โมโฆ เต ปุริสวายาโม, อปฺปตฺวาว มริสฺสสี’’ติฯ
คมฺภีเร
ในมหาสมุทรลึก อปฺปเมยฺยสฺสมิํ สุดหยั่งถึง ตีรํ ฝั่ง น ทิสฺสติ ยังไม่ปรากฏ ยสฺส ตว แก่ท่าน, ปุริสวายาโม
ความพยายามอย่างลูกผู้ชาย ตสฺส เต ของท่าน โมโฆ เป็นอันสูญเปล่า, ตฺวํ
ท่าน อปฺปตฺวา ว ไม่ทันถึง (ตีรํ ฝั่ง) มริสฺสสิ ก็จักตาย เป็นแน่.
ตตฺถ อปฺปตฺวาติ
ตีรํ อปฺปตฺวาเยวฯ
ตตฺถ
ในคาถานั้น อตฺโถ ความหมาย อปฺปตฺวา อิติ ปทสฺส แห่งบทว่า อปฺปตฺวา
ว่า อปฺปตฺวา ไม่ถึงแล้ว ตีรํ ซึ่งฝั่ง เอว แน่นอน ดังนี้.
อถ นํ
มหาสตฺโต ‘‘เทวเต, กิํ นาเมตํ กเถสิ, วายามํ
กตฺวา มรนฺโตปิ ครหโต มุจฺจิสฺสามี’’ติ วตฺวา คาถมาห –
อถ
ครัั้นแล้ว มหาสตฺโต พระมหาสัตว์ วตฺวา จึงได้กล่าว นํ
กับเทพธิดา อิติ ว่า เทวเต ท่านเทพธิดา กเถสิ กล่าว เอตํ
วาจา กิํ นาม อะไรกันนี่, อหํ ข้าพเจ้า กตฺวา วายามํ
ทำความเพียร มรนฺโตปิ ถึงจะตาย มุจฺจิสฺสามิ จักพ้น ครหโต
จากข้อครหาได้ ฉะนี้แล้ว อาห จึงตรัส คาถํ พระคาถา อิติ ว่า
๑๒๖.
กรํ ปุริสกิจฺจานิ, น จ ปจฺฉานุตปฺปตี’’ติฯ
โส บุคคล กรํ
เมื่อทำ ปุริสกิจฺจานิ ความเพียรเยี่ยงชาย โหติ ย่อมเป็น อนโณ =
อนินฺทิโต ไม่ถูกตำหนิ[1] (อนฺตเร)
ท่ามกลาง ญาตินํ จ หมู่ญาติ เทวานํ จ ทวยเทพ ปิตุนญฺจ
และหมู่พรหม. จ อีกทั้ง น อนุตปฺปติ จะไม่ร้อนใจ ปจฺฉา
ภายหลัง ดังนี้.
ตตฺถ อนโณติ
วายามํ กโรนฺโต ญาตีนญฺเจว เทวตานญฺจ พฺรหฺมานญฺจ อนฺตเร อนโณ โหติ อครหิโต
อนินฺทิโตฯ กรํ ปุริสกิจฺจานีติ ยถา โส ปุคฺคโล ปุริเสหิ กตฺตพฺพานิ
กมฺมานิ กรํ ปจฺฉากาเล น จ อนุตปฺปติ, ยถา นานุโสจติ, เอวาหมฺปิ วีริยํ กโรนฺโต ปจฺฉากาเล นานุตปฺปามิ นานุโสจามีติ อตฺโถฯ
ตตฺถ
ในคาถานั้น อตฺโถ ความหมาย ปทสฺส ของคำ อิติ ว่า อนโณ เป็นต้น อิติ ว่า
ปุคฺคโล บุคคล กโรนฺโต
เมื่อทำ วายามํ ความเพียร โหติ ย่อมเป็น อนโณ ผู้ไม่มีหนี้ อครหิโต
คือ ไม่ถูกติเตียน อนินฺทิโต ไม่ถูกตำหนิ อนฺตเร ท่ามกลาง ญาตีนํ
เอว หมู่ญาติ เทวตานํ ทวยเทพ พฺรหฺมานํ จ
และหมู่พรหม ดังนี้.
อตฺโถ
ความหมาย กรํ ปุริสกิจฺจานิ อิติ ปททฺวยสฺส แห่งสองบทว่า กรํ ปุริสกิจฺจานิ
ว่า โส ปุคฺคโล บุคคล กรํ เมื่อทำ กมฺมานิ ซึ่งการงาน กตฺตพฺพานิ
ที่บุรุษพึงทำ น อนุตปฺปติ ไม่ร้อนใจ จ ด้วย ยถา
โดยประการใด, นานุโสจติ ย่อมไม่เสียใจ ปจฺฉากาเล ภายหลัง ยถา โดยประการใด,
อหมฺปิ แม้ข้าพเจ้า กโรนฺโต จะกระทำ วีริยํ ซึ่งความเพียร น
อนุตปฺปามิ จะไม่ร้อนใจ น อนุโสจามิ จะไม่เสียใจ เอวํ
โดยประการนั้น.
[1]
อนโณ ไม่เป็นหนี้ อรรถกถาแก้เป็น อครหิโต อนินฺทิโต
แสดงว่า ศัพท์นี้มิได้ถูกใช้ในความหมายว่าเป็นหนี้ โดยตรง แต่ มีความหมายว่า
ไม่ถูกตำหนิ. ข้าพเจ้าเห็นว่า พระอรรถกถาจารย์ประสงค์จะให้ศัพท์นี้มีความหมายว่า
ถูกตำหนิ โดยอ้อม ถ้าจะถือเอาความหมายโดยตรงว่า ไม่เป็นหนี้
เห็นทีจะไม่เข้ากับบริบท ดังนั้น จึงแปลตามนัยของอรรถกถา.
ไม่มีความคิดเห็น:
แสดงความคิดเห็น